ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ณปฏล (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
| signature = Signature_of_Somdej_Phra_Yannasangwon_(Suvaddhana_Mahathera)-2.svg
}}
'''สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร''' พระนามเดิม '''เจริญ คชวัตร''' ฉายา '''สุวฑฺฒโน''' (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็น[[สมเด็จพระสังฆราชไทย|สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก]]พระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ [[วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร]] ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อ พ.ศ. 2532 ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรบพิตร]] ถือเป็นสมเด็จพระสังฆราชที่มีพระชันษามากกว่าสมเด็จพระสังฆราชทุกพระองค์ในอดีตและเป็นพระองค์แรกของไทยที่มีพระชันษา 100 ปี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556 เนื่องจากติดเชื้อในกระแสพระโลหิต<ref name = "สิ้น">{{cite web | url = http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1382622550 | title = พุทธศาสนิกชนร่ำไห้ "สมเด็จพระสังฆราช" สิ้นพระชนม์ลงแล้ว! | publisher = มติชน | date = 2013-10-24 | accessdate = 2013-10-24}}{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}}</ref>
 
== พระประวัติ ==
=== ขณะทรงพระเยาว์ ===
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร มีพระนามเดิมว่า '''เจริญ คชวัตร''' ประสูติเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 ที่[[จังหวัดกาญจนบุรี]] เป็นบุตรคนโตของพระชนกน้อย คชวัตร และพระชนนีกิมน้อย คชวัตร พระองค์มีน้องชาย 2 คน ได้แก่ นายจำเนียร คชวัตร และนายสมุทร คชวัตร พระชนกของพระองค์ป่วยเป็นโรคเนื้องอกและเสียชีวิตไปตั้งแต่พระองค์ยังเล็ก หลังจากนั้น พระองค์ได้มาอยู่ในความดูแลของนางกิมเฮ้ง หรือกิมเฮงซึ่งเป็นพี่สาวของพระชนนีกิมน้อยที่ได้ขอพระองค์มาเลี้ยงดู<ref name="วัดบวร">[http://www.watbowon.com/Monk/ja/06/ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เจ้าอาวาสลำดับที่ ๖ (หน้า 1)], วัดบวรนิเวศวิหาร, เข้าถึงวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2556</ref> และนางกิมเฮ้งจึงตั้งชื่อหลานชายผู้นี้ว่า "เจริญ"<ref>{{cite book | author = พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย), ธงทอง จันทรางศุ, และสุเขาวน์ พลอยชุม | title = ''บวรธรรมบพิตร พระประวัติ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก'', | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = วัดบวรนิเวศวิหาร | location = กรุงเทพฯ | year = 2558 | page =หน้า 21}}</ref>
 
พระชนกน้อย คชวัตร เป็นบุตรคนที่สามจากทั้งหมดสี่คนของเล็ก กับแดงอิ่ม คชวัตร เป็นหลานปู่-หลานย่าของหลวงพิพิธภักดี ผู้เคยเป็นข้าราชการชาวกรุงเก่า<ref name="บวร">{{cite book | author = พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย), ศาสตราจารย์พิเศษธงทอง จันทรางศุ และรองศาสตราจารย์สุเขาวน์ พลอยชุม | title = ''บวรธรรมบพิตร พระประวัติ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก'', | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = วัดบวรนิเวศวิหาร | location = กรุงเทพฯ | year = 2558 | page =หน้า 20}}</ref> กับนางจีนผู้ภริยาหลวงพิพิธภักดีเป็นหลานยายของ[[ท้าวเทพกระษัตรี]]<ref name="บวร1">{{cite book | author = พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย), ศาสตราจารย์พิเศษธงทอง จันทรางศุ และรองศาสตราจารย์สุเขาวน์ พลอยชุม | title = ''บวรธรรมบพิตร พระประวัติ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก'', | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = วัดบวรนิเวศวิหาร | location = กรุงเทพฯ | year = 2558 | page =หน้า 18-19}}</ref> ส่วนพระชนนีกิมน้อย หรือน้อย ซึ่งเคยเปลี่ยนชื่อเป็นแดงแก้วนั้น มีบิดาเป็นคนเชื้อสายจีนคือนายเฮงเล็ก แซ่ตั๊น กับมารดาเชื้อสายญวนชื่อนางทองคำ<ref name="บวร"/> ครั้นนายเฮงเล็กถึงแก่กรรม นางทองคำจึงสมรสใหม่กับนายสุข รุ่งสว่าง มีบุตรด้วยกัน 4 คน<ref name="บวร1"/>
 
เมื่อพระชันษาได้ 8 ปี ทรงเข้าเรียนที่โรงเรียนประชาบาล วัดเทวสังฆาราม จนจบชั้นประถม 5 (เทียบเท่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 ในปัจจุบัน) เมื่อ พ.ศ. 2468 ในขณะที่มีพระชันษา 12 ปี หลังจากนั้น ทรงไม่รู้ว่าจะเรียนอะไรต่อและไม่รู้ว่าจะเรียนที่ไหน ทรงเล่าว่า "''เมื่อเยาว์วัยมีพระอัธยาศัยค่อนข้างขลาด กลัวต่อคนแปลกหน้า และค่อนข้างจะเป็นคนติดป้าที่อยู่ ใกล้ชิดกันมาแต่ทรงพระเยาว์โดยไม่เคยแยกจากกันเลย''" จึงทำให้พระองค์ไม่กล้าตัดสินพระทัยไปเรียนต่อที่อื่น<ref name="วัดบวร"/>
บรรทัด 194:
* พ.ศ. 2504 [[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง|รองสมเด็จพระราชาคณะ]] มีราชทินนามตามจารึกในหิรัญบัฏว่า ''[[พระสาสนโสภณ]] วิมลญาณสุนทร บรมนริศรธรรมนีติสาธก ตรีปิฎกธรรมาลังการวิภูสิต ธรรมยุตติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2504/A/104/1.PDF ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์], ตอนที่ 104, เล่ม 78, วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2504, หน้า 13-16</ref>
* พ.ศ. 2515 [[สมเด็จพระราชาคณะ]] มีราชทินนามตามจารึกในสุพรรณบัฏว่า ''สมเด็จพระญาณสังวร บรมนริศรธรรมนีติสาธก ตรีปิฎกปริยัตติธาดา สัปตวิสุทธิจริยาสมบัติ อุดมศีลจารวัตรสุนทร ธรรมยุตติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี ''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2515/A/202/1.PDF ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์ (พระสาสณโสภณ เป็นสมเด็จพระราชาคณะ)], ตอนที่ 102, เล่ม 89, วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2515, หน้า 1-5</ref>
* 21 เมษายน พ.ศ. 2532 ทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า ''[[สมเด็จพระญาณสังวร]] บรมนริศรธรรมนีติภิบาล [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ|อริยวงศาคตญาณ]]วิมล สกลมหาสังฆปริณายก ตรีปิฎกปริยัตติธาดา วิสุทธจริยาธิสมบัติ สุวัฑฒนภิธานสงฆวิสุต<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=109|issue=16 ง|pages=1080|title=แก้คำผิด จดหมายเหตุพระราชพิธีสถาปนสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/016/1080.PDF|date=1128 พฤศจิกายนมกราคม พ.ศ. 25562535|accessdate=2811 มกราคมพฤศจิกายน 25352556|language=ไทย}}</ref> ปาวจนุตตมพิสาร สุขุมธรรมวิธานธำรง วชิรญาณวงศวิวัฒ พุทธบริษัทคารวสถาน วิจิตรปฏิภาณพัฒนคุณ วิบุลสีลาจารวัตรสุนทร บวรธรรมบพิตร สรรพคณิศรมหาปธานาธิบดี คามวาสี อรัณยวาสี สมเด็จพระสังฆราช''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2532/A/063/1.PDF ประกาศสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช], ตอนที่ 63, เล่ม 106, วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2532, หน้า 1-7</ref>
* 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ทรงได้รับการสถาปนาพระอัฐิเป็น ''[[สมเด็จพระสังฆราชเจ้า]] กรมหลวงวชิรญาณสังวร วชิราลงกรณราชาภินิษกรมณาจารย์ สุขุมธรรมวิธานธำรง อริยวงศาคตญาณวิมล สกลมหาสังฆปริณายก ตรีปิฎกปริยัติธาดา วิสุทธจริยาธิสมบัติ สุวัฑฒนภิธานสังฆวิสุต ปาวจนุตตมพิสาร วชิรญาณวงศวิวัฒ พุทธบริษัทคารวสถาน วิจิตรปฏิภาณพัฒนคุณ วิบุลสีลาจารวัตรสุนทร สรรพคณิศรมหาสังฆาธิบดี ศรีสมณุดมบรมบพิตร'' <ref name="สถาปนาพระอัฐิ" />
 
บรรทัด 269:
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
<div style="overflow:scroll;height:300px;">
{{รายการอ้างอิง|3}}
; บรรณานุกรม
</div>
{{เริ่มอ้างอิง}}
 
* {{cite book | author = [[พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย)]], [[ธงทอง จันทรางศุ]], และ[[สุเขาวน์ พลอยชุม]] | title = บวรธรรมบพิตร พระประวัติ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = วัดบวรนิเวศวิหาร | location = กรุงเทพฯ | year = 2558 }}
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เริ่มกล่อง}}