ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
| บรรยายภาพ = พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ณ [[พระที่นั่งอนันตสมาคม]]
| ผู้ตรา = [[รัฐบาลไทย]]
| ผู้ลงนาม = [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]]
| ผู้ลงนามรับรอง = [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา|พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา]]<br><small>(นายกรัฐมนตรี)</small>
| ชื่อร่าง = ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บรรทัด 17:
}}
 
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560''' เป็น[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] ฉบับที่ 20 หลังจาก[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557]] เป็นผลให้มีประกาศยกเลิก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] การร่างรัฐธรรมนูญเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ (กยร.) เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ประกอบด้วยสมาชิกจากการแต่งตั้ง 36 คน มี[[บวรศักดิ์ อุวรรณโณ]] เป็นประธาน<ref name="Laws14"/> ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 [[สภาปฏิรูปแห่งชาติ]] (สปช.) มีมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญของ กยร.<ref name="LawsCancel"/> จึงมีการตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 เพื่อจัดทำร่างฯ ฉบับใหม่ ประกอบด้วยสมาชิก 21 คน มี[[มีชัย ฤชุพันธุ์]] เป็นประธาน<ref name="Laws15"/> เมื่อร่างเสร็จแล้ว มี[[การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559|การลงประชามติ]]ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งผู้มาใช้สิทธิร้อยละ 61.35 เห็นชอบ
 
[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560
 
== ประวัติ ==
 
=== คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ===
วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557|รัฐประหาร]] โดย[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] (คสช.) คณะรัฐประหารมีคำสั่งยกเลิก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] ต่อมาในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ได้ประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557]] ซึ่งกำหนดให้มี คยร. ประกอบด้วยสมาชิก 36 คน สรรหามาจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.), [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] (สนช.), [[คณะรัฐมนตรีไทย|คณะรัฐมนตรี]] (ครม.), และ คสช. เพื่อร่างรัฐธรรมนูญถาวรฉบับใหม่ วันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 [[เทียนฉาย กีระนันทน์]] ประธาน สปช. ลงนามคำสั่งแต่งตั้ง กยร. ซึ่งมี[[บวรศักดิ์ อุวรรณโณ]] เป็นประธาน<ref name="Laws14">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/222/1.PDF ประกาศสภาปฏิรูปแห่งชาติ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ], ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 30 มกราคม 2559</ref>
 
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับ กยร. เดิมมี 315 มาตรา หลังจากได้รับข้อเสนอของ สปช. แล้ว กยร. ได้ปรับแก้เนื้อหาให้เหลือ 285 มาตรา<ref>
บรรทัด 32:
 
=== คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ===
รัฐธรรมนูญชั่วคราวกำหนดให้ คสช. ตั้ง กรธ. ขึ้นแทน กยร. ชุดเดิม<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/064/1.PDF รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2558], เล่ม 132, ตอนที่ 64 ก, หน้า 1. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ: 12 ธันวาคม 2559</ref> วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2558 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้า คสช. จึงแต่งตั้ง กรธ. โดยมี[[มีชัย ฤชุพันธุ์]] เป็นประธาน<ref name="Laws15">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/239/1.PDF ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ], ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 6 ตุลาคม 2558</ref>
 
สมาชิกคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ มีดังนี้
บรรทัด 65:
{{col-end}}
 
กรธ. ชุดนี้พ้นจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2561<ref>[http://news.ch3thailand.com/politics/77646 "มีชัย"เปิดใจหลังยุบ กรธ.พ้นตำแหน่ง]</ref><ref>[http://tnnthailand.com/content/6698 เปิดใจภารกิจสุดท้ายมือกฎหมาย มีชัย ฤชุพันธุ์]</ref>
 
=== เนื้อหาร่างรัฐธรรมนูญ ===
บรรทัด 79:
=== การลงประชามติและประกาศใช้ ===
{{บทความหลัก|การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559}}
26 มีนาคม พ.ศ. 2559 โฆษก กรธ. แถลงว่า กรธ. พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแล้ว ต่อมาวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2559 สนช. พิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. .... วาระ 2 และ 3 ตามที่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีเนื้อหาห้ามรณรงค์ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ<ref>[http://www.thairath.co.th/content/602698 สนช.ลงมติผ่านร่าง พ.ร.บ.ประชามติ รุมค้าน ก.ม.ห้ามชวนโหวตโน ละเมิดสิทธิ์ปชช.] ไทยรัฐ</ref> 9 เมษายน พ.ศ. 2559 สนช. เห็นชอบเป็นเอกฉันท์ให้เพิ่มคำถามประชามติให้สมาชิกวุฒิสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีอำนาจลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีด้วยหรือไม่<ref>[http://www.posttoday.com/politic/425641 สนช.เคาะตั้งคำถามพ่วงประชามติให้รัฐสภาฯโหวตเลือกนายกฯ] โพสต์ทูเดย์.</ref>
 
19 เมษายน พ.ศ. 2559 [[คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)|คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] (กกต.) กำหนดให้วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 เป็นวันออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/032/11.PDF ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดวันออกเสียงประชามติ] ราชกิจจานุเบกษา.</ref>
 
{| class="wikitable sortable" cellspacing="0" cellpadding="0" style="width:835px; text-align:center;"
บรรทัด 100:
|}
 
7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ในการออกเสียงประชามติ ผลปรากฏว่า ร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงเรื่องอำนาจลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีของสมาชิกวุฒิสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ได้รับความเห็นชอบด้วยคะแนนข้างมากของผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้เลือกตั้ง จากนั้น กรธ. นำร่างรัฐธรรมนูญไปปรับปรุงในบางมาตราและในบทเฉพาะกาลเพื่อให้เข้ากับคำถามพ่วงเป็นเวลา 30 วัน หลังจากนั้น ส่งร่างคืนนายกรัฐมนตรีให้นำขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้ทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป
 
วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560 [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวประทับพระราชอาสน์หน้าพระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์เพื่อลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญและประทับตราพระราชลัญจกร นับเป็นพระราชพิธีประกาศใช้รัฐธรรมนูญครั้งแรกในรอบเกือบ 50 ปี<ref>[https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1479272441 พิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ธรรมเนียมปฏิบัติ 3 รัชกาล]</ref>
จากนั้น กรธ. นำร่างรัฐธรรมนูญไปปรับปรุงในบางมาตราและในบทเฉพาะกาลเพื่อให้เข้ากับคำถามพ่วงเป็นเวลา 30 วัน หลังจากนั้น ส่งร่างคืนนายกรัฐมนตรีให้นำขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้ทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป
 
อนึ่ง ก่อนที่พระมหากษัตริย์บาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวจะทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 นั้น ได้ทรงมอบ "ข้อสังเกตพระราชทาน" และให้รัฐบาลแก้ไขให้เป็นไปตามข้อสังเกตดังกล่าว<ref>[http://www.bbc.com/thai/thailand-38977996 รัฐบาลแก้ไข รธน. ตามข้อสังเกตพระราชทานเสร็จแล้ว]</ref> ได้แก่ มาตรา 5, 17 และ 182<ref>[https://www.isranews.org/isranews-scoop/53227-rtn-53227.htmlกางมาตรา 5-17-182 รธน.ใหม่ ก่อนนายกฯสั่งแก้ให้เป็นไปตามพระราชกระแสรับสั่ง]</ref> ใจความสำคัญคือ 1) ตัดข้อความที่ให้ศาลรัฐธรรมนูญเรียกประชุมประมุขสามอำนาจเพื่อแก้ไขวิกฤตการเมือง, 2) พระมหากษัตริย์ไม่จำเป็นต้องแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และ 3) ผู้รับสนองกฎหมาย พระบรมราชโองการและประกาศพ้นจากความรับผิดชอบ<ref>[http://www.khaosodenglish.com/politics/2017/04/06/first-look-major-changes-new-thai-constitution/ First Look at Major Changes to the New Thai Constitution]</ref> เป็นการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญตามพระราชประสงค์หลังจากมีประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญแล้ว
วันที่ 6 เมษายน 2560 [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] ประทับพระราชอาสน์หน้าพระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์เพื่อลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญและประทับตราพระราชลัญจกร นับเป็นพระราชพิธีประกาศใช้รัฐธรรมนูญครั้งแรกในรอบเกือบ 50 ปี<ref>[https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1479272441 พิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ธรรมเนียมปฏิบัติ 3 รัชกาล]</ref>
 
อนึ่ง ก่อนพระมหากษัตริย์ลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 นั้น ทรงมอบ "ข้อสังเกตพระราชทาน" และให้รัฐบาลแก้ไขให้เป็นไปตามข้อสังเกตดังกล่าว<ref>[http://www.bbc.com/thai/thailand-38977996 รัฐบาลแก้ไข รธน. ตามข้อสังเกตพระราชทานเสร็จแล้ว]</ref> ได้แก่ มาตรา 5, 17 และ 182<ref>[https://www.isranews.org/isranews-scoop/53227-rtn-53227.htmlกางมาตรา 5-17-182 รธน.ใหม่ ก่อนนายกฯสั่งแก้ให้เป็นไปตามพระราชกระแสรับสั่ง]</ref> ใจความสำคัญคือ 1) ตัดข้อความที่ให้ศาลรัฐธรรมนูญเรียกประชุมประมุขสามอำนาจเพื่อแก้ไขวิกฤตการเมือง, 2) พระมหากษัตริย์ไม่จำเป็นต้องแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และ 3) ผู้รับสนองกฎหมาย พระบรมราชโองการและประกาศพ้นจากความรับผิดชอบ<ref>[http://www.khaosodenglish.com/politics/2017/04/06/first-look-major-changes-new-thai-constitution/ First Look at Major Changes to the New Thai Constitution]</ref> เป็นการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญตามพระราชประสงค์หลังจากมีประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญแล้ว
 
== ข้อวิจารณ์ ==
เส้น 114 ⟶ 112:
=== ระบบการเลือกตั้งแบบใหม่ ===
 
รัฐธรรมนูญดังกล่าวกำหนดการเลือกตั้ง ส.ส. เป็นแบบ[[การให้มีผู้แทนแบบจัดสรรปันส่วนผสม|จัดสรรปันส่วนผสม]] บัตรเลือกตั้งสามารถเลือกได้เพียงตัวเลือกเดียวเพื่อเลือกทั้งผู้สมัครและพรรคการเมือง มีการแถลงความมุ่งหมายของระบบดังกล่าวไว้ว่า เพื่อให้พรรคการเมืองส่งผู้สมัครที่ดีที่สุด ไม่ใช่ส่ง "เสาโทรเลข" อย่างไรก็ตาม ความมุ่งหมายแฝงเร้น คือ ป้องกันพรรคการเมืองขนาดใหญ่เกินกึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎร ดังนั้น ใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562]] จึงเกิดยุทธศาสตร์ "พรรคแบงก์ย่อย" ซึ่งพรรคการเมืองพันธมิตรของ[[ทักษิณ ชินวัตร]] มีการตั้งพรรคการเมืองหลายพรรคแล้วส่งผู้สมัครแบบแบ่งเขตและบัญชีรายชื่อแยกกัน นอกจากนี้ ยังมีปรากฏการณ์ครึกโครมที่[[พรรคพลังประชารัฐ]]ดึงตัวผู้สมัครในช่วงปี พ.ศ. 2561<ref name="bbc">[https://www.bbc.com/thai/thailand-47828666 2 ปีประกาศใช้ รธน. : สำรวจสิ่งที่ กรธ. คิด กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในสนามเลือกตั้ง 2562]</ref>
 
นอกจากนี้ แม้รัฐธรรมนูญกำหนดให้พรรคการเมืองเปิดเผยชื่อบุคคลที่จะเสนอเป็นนายกรัฐมนตรีตามมาตรา 88 แต่มาตรา 272 เปิดช่องให้รัฐสภาพิจารณาบุคคลนอกบัญชีที่พรรคการเมืองเสนอมาได้ อีกทั้ง ส.ว. ชุดแรกซึ่งมีวาระ 5 ปียังมีอำนาจลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีตามมาตรา 272 ได้ หมายความว่า ส.ว. ดังกล่าวจะมีอำนาจลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีได้ 2 คน (หากคิดวาระคนละ 4 ปี)<ref name="bbc"/>