ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะไลลามะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Phyblas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ทะไลลามะตาแลลามา''' ([[ภาษาทิเบต|ทิเบต]]: ཏཱ་ལའི་བླ་མ་, taa la’i bla ma, /ta˥˥.lɛː˥˥ la˥˥.ma˥˥/, [[จีนตัวเต็ม]]: 達賴喇嘛; [[จีนตัวย่อ]]: 达赖喇嘛; [[พินอิน]]: Dálài Lǎmā) หรือนิยมเรียกกันว่า ''ดาไลลามะ'' เป็นตำแหน่งประมุขหัวหน้าคณะสงฆ์ใน[[พุทธศาสนา]][[นิกายมหายาน]][[พุทธศาสนาแบบทิเบต|แบบทิเบต]][[นิกายเกลุก|เกลุก]] (นิกายหมวกเหลือง) เป็นผู้นำทางด้านจิตวิญญาณสูงสุดของ[[ชาวทิเบต]] ''ทะไลลามะตาแลลามา'' มาจาก[[ภาษามองโกเลีย]] ''далай (dalai)'' แปลว่า [[มหาสมุทร]] และ[[ภาษาทิเบต]] ''བླ་མ ་bla-ma'' แปลว่า พระชั้นสูง (ทะไลลามะ บางครั้งหรือนิยมออกเสียว่า ดาไลลามะ)
 
ตามประวัติศาสตร์ของทิเบต เชื่อว่าองค์ทะไลลามะตาแลลามาเป็น[[อวตาร]]ในร่างมนุษย์ของ[[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]] และเมื่อองค์ทะไลลามะตาแลลามาองค์หนึ่งสิ้นพระชนม์ไป จะกลับชาติมาประสูติใหม่เป็นองค์ทะไลลามะตาแลลามาองค์ต่อไป โดย[[เรทิงรินโปเช]] ซึ่งเป็นพระสงฆ์ระดับรองลงมาจะเป็นผู้ใช้นิมิตสรรหาเด็กคนที่เชื่อว่าเป็นทะไลลามะกลับตาแลลามากลับชาติมาเกิด
 
ปัจจุบัน ดาไลลามะตาแลลามา เป็นองค์ที่ 14 ชื่อ [[เทนซินทะไลลามะที่ 14|แตนจิน เกียตโซกยาโช]] (Tenzin Gyatso) พ.ศ. 2478 – ปัจจุบัน
 
'''ความเชื่อเรื่องการกลับชาติมาเกิด'''
 
ความเชื่อเรื่องการกลับชาติมาเกิดและการเข้าทรงของชาวธิเบตนั้น เป็นความเชื่อที่ฝังอยู่ในสายเลือดของชาวธิเบตมานาน การกลับชาติมาเกิดชาวธิเบตเรียกว่า “ตุลกู” หมายถึงผู้ที่เลือกที่จะกลับมาเกิดใหม่ เพื่อสืบทอดเจตนารมณ์ของตนต่อไปหรือเลือกที่จะมาเกิดเพื่อโปรดสัตว์เพื่อช่วยสัตว์โลก ให้พ้นทุกข์เช่นเดียวกับพระโพธิสัตว์ ซึ่งก็สอดคล้องกับแนวทางของพุทธศาสนานิกายมหายาน ที่มุ่งปฏิบัติให้สำเร็จพระโพธิญาณ เพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ แต่ยังไม่ถึงนิพพาน เพื่อคอยโปรดสัตว์ผู้ยังมีทุกข์ให้พ้นจากสังสารวัฏ ทั้งๆที่สามารถนิพพานได้ นับเป็นการเสียสละที่น่ายกย่องยิ่งนัก ชาวธิเบตถือว่าการกลับชาติมาเกิดนั้นเป็นเรื่องปกติธรรมดา เพราะในประเทศธิเบตมี “ตุลกู” คือผู้ที่กลับมาเกิดใหม่อยู่นับพันคน แต่ที่พิเศษไปกว่าตุลกูธรรมดา ก็คือการกลับชาติมาเกิดใหม่ขององค์ดาไลลามะตาแลลามาหรือลามะชั้นสูงของธิเบต ซึ่งอาจเรียกได้ว่าเป็นการ “อวตาร” มาเกิดก็ได้ ที่ผ่านมามีองค์ดาไลลามะตาแลลามาและลามะชั้นสูงได้กลับชาติมาเกิดแล้วหลายท่าน ในที่นี้ผู้เขียนขอยกมาเฉพาะเรื่องราวการอวตารของ ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 หรือการจำอดีตชาติได้ของดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 14 (องค์ปัจจุบัน) ซึ่งได้ถูกบันทึกไว้ในหนังสือ “อิสรภาพในการลี้ภัย Freedom Exile” เขียนโดยดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 14 แปลเป็นภาษาไทยโดย “ฉัตรสุมาลย์กบิลสิงห์ ษัฏเสน”
 
'''ประวัติความเป็นมาของ ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 14'''
 
ดาไลลามะตาแลลามาองค์ก่อนหน้านี้คือ สมเด็จพระทุบเท็น กยัตโส ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 ท่านเกิดเมื่อ พ.ศ. 2419 สวรรคตเมื่อ พ.ศ. 2476 รวมอายุได้ 57 ปี เมื่อครั้งที่พระองค์ยังมีชีวิตอยู่ทรงเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณและเป็นผู้นำทางการเมืองที่เปี่ยมด้วยเมตตากรุณายิ่งนัก ทรงเป็นคนเรียบง่ายไม่ถือพระองค์ แต่ทรงเข้มงวดในระเบียบวินัย ทรงเป็นนักวิชาการที่มองการไกล ทรงสนใจในเทคโนโลยีสมัยใหม่ ประเทศธิเบตในสมัยที่พระองค์ปกครองอยู่นั้น เคยถูกรุกรานจนกระทั่งพระองค์ต้องลี้ภัยไปอยู่ในต่างประเทศถึง 2 ครั้ง ครั้งแรกประเทศธิเบตถูกอังกฤษรุกรานเมื่อ พ.ศ. 2446 และครั้งที่สองถูกแมนจูรุกรานเมื่อ พ.ศ. 2453 ครั้งแรกนั้นอังกฤษถอยทัพกลับไปเอง ครั้งที่สองกำลังทหารของธิเบตสามารถขับไล่ทหารแมนจูออกไปได้
 
เมื่อครั้งที่ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13(สมเด็จพระทุบเท็น กยัตโส) สวรรคตลงเมื่อ พ.ศ. 2476 ได้เกิดเหตุอัศจรรย์ขึ้นคือ พระศพซึ่งเดิมหันพระพักตร์ไปทางทิศใต้ กลับหันไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ จากนั้นไม่นานผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ซึ่งเป็นลามะชั้นสูงได้เห็นภาพจากสมาธิขณะเพ่งลงไปในทะเลสาบศักดิ์สิทธิ์ในธิเบตตอนใต้ โดยเห็นเป็นอักษรธิเบต 3 ตัว สมมติให้เป็นตัวอักษร ไทยคือ “ อ,ก และ ม “ และเห็นภาพวัดเป็นตึก 3 ชั้นมีหลังคาสีฟ้าประดับลายทอง จากนั้นก็ปรากฏภาพทางเดินที่ขึ้นไปจากเชิงเขา สุดท้ายปรากฏเป็นภาพบ้านหลังเล็กๆที่มีรางน้ำรูปร่างแปลกๆ หลังจากนั้นรัฐบาลธิเบตได้จัดคณะค้นหาขึ้น เพื่อค้นหาสถานที่และแปลความหมายตัวอักษรทั้ง 3 ตัวที่ปรากฏในสมาธิของลามะชั้นสูง การค้นหาองค์อวตารของดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 จึงเริ่มขึ้น
 
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้ปรึกษากับคณะค้นหาและลงความเห็นว่า อักษร “อ” น่าจะหมายถึง แคว้นอัมโด ซึ่งเป็นแคว้นทางตะวันออกเฉียงเหนือของธิเบต ซึ่งเป็นทิศที่พระพักตร์หันไป จึงส่งคณะค้นหาไปตามทิศทางนั้น เมื่อมาถึง วัดกุมบุม ซึ่งตรงกับอักษรตัวที่สองคือ “ก” คณะผู้ค้นหาก็เริ่มมั่นใจว่ามาถูกทาง เมื่อเห็นลักษณะของวัดกุมบุมซึ่งมีลักษณะเป็นตึก 3 ชั้น มีหลังคาสีฟ้าตรงตามที่เห็นในสมาธิ และสิ่งที่พวกเขาต้องค้นหาต่อไปคือบ้านหลังเล็กๆที่มีรางน้ำรูปร่างแปลกๆ ซึ่งน่าจะอยู่ไม่ไกลจากวัดกุมบุมนัก พวกเขาเริ่มค้นหาในหมู่บ้านระแวกใกล้เคียงกับวัดกุมบุม จนกระทั่งมาถึงบ้านหลังเล็กๆหลังหนึ่งมีไม้สนคดงอเป็นรูปร่างแปลกๆใช้ทำเป็นรางน้ำตรงกับที่เห็นในสมาธิ พวกเขาเริ่มมั่นใจยิ่งขึ้นว่า ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 ที่จะอวตารกลับชาติมาเกิดนั้นคงจะอยู่ในบ้านหลังนี้หรือไม่ก็คงจะอยู่ไม่ไกลจากที่นั่นเป็นแน่
 
คือบ้านของ เด็กชาย ลาโม ทอนดุป และครอบครัว ซึ่งต่อมาเด็กชายลาโมได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการว่าเป็นดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 อวตารหรือกลับชาติมาเกิดนั่นเอง เมื่อคณะค้นหาเข้าไปในบ้านก็ไม่ได้แจ้งจุดประสงค์ที่แท้จริงให้คนในบ้านทราบ เพียงแต่ขอค้างแรมระหว่างทางสักคืนเท่านั้น หัวหน้าคณะค้นหาคือ คิวซัง ริมโปเช่ ซึ่งเป็นลามะชั้นสูงท่านหนึ่งปลอมตัวเป็นคนรับใช้ในคณะเพื่อพิสูจน์ความจริงบางอย่าง และเพื่อไม่ให้คนในบ้านได้รู้ถึงการทดสอบนั้น แต่เมื่อคณะค้นหาเข้ามาในบ้าน เด็กชายลาโมเห็นเขากลับจำได้และเรียกเขาว่า “ลามะจากเซร่า” ความรู้สึกมั่นใจเริ่มเกิดขึ้นเพราะท่านคิวซัง ริมโปเช่ นั้นมาจากวัดเซร่าจริงๆ แต่เพียงเท่านี้ยังไม่ทำให้เด็กชายลาโมผ่านการทดสอบได้ พวกเขายังไม่เปิดเผยสิ่งใดพอรุ่งเช้าจึงขอตัวเดินทางต่อ
 
หลังจากนั้นอีก 2- 3 วันคณะผู้ค้นหาเดินทางมายังบ้านของเด็กชายลาโมอีกครั้ง แต่คราวนี้มาอย่างเป็นทางการและได้นำสิ่งของเครื่องใช้หลายอย่างมาด้วย ซึ่งในจำนวนเครื่องใช้เหล่านั้นมีสิ่งของเครื่องใช้ที่เคยเป็นของ ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 รวมอยู่ด้วย แต่ได้จัดปนเปกันมาเพื่อพิสูจน์การระลึกชาติของเด็กชายลาโม ทอนดุป
 
การพิสูจน์ได้เริ่มต้นขึ้น เด็กชายลาโมซึ่งขณะนั้นอายุ 3 ขวบ สามารถเลือกสิ่งของเครื่องใช้ที่เคยเป็นของดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 ได้อย่างถูกต้องทั้งหมด ทั้งยังบอกด้วยว่า “ของฉัน ๆ” จากการพิสูจน์ทำให้คณะค้นหาแน่ใจแล้วว่า เด็กชายลาโม ทอนดุป คือดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 กลับชาติมาเกิดตามเจตนารมณ์ของท่านที่เลือกที่จะกลับมาเกิดใหม่เพื่อประโยชน์สุขของชาวธิเบต เฉกเช่นเดียวกับพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ผู้บรรลุพุทธภูมิแล้ว ก็ยังกลับมาเกิดอีก เพื่อประโยชน์สุขแห่งสรรพสัตว์ในโลก จนกว่าสรรพสัตว์ทั้งปวงจะเป็นอิสระจากสังสารวัฏจนหมดสิ้นแล้วจึงจะบรรลุนิพพาน
 
เมื่อทำการพิสูจน์จนแน่ใจแล้วว่า เด็กชายลาโม ทอนดุป คือดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 กลับชาติมาเกิด คณะพิสูจน์ก็ส่งข่าวไปยังผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในเมืองลาซา เพื่อรายงานผลการพิสูจน์ จนกระทั่งได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ จากนั้นอีก 18 เดิอนจึงมีการจัดขบวนมาต้อนรับอย่างสมเกียรติไปยังเมืองหลวง เพื่อรอการแต่งตั้งเป็นดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 14 ต่อไปเมื่อ เด็กชายลาโม บรรลุนิติภาวะแล้ว
 
เด็กชายลาโม ทอนดุป(Lhamo Thondup) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2476 ณ.หมู่บ้านตักเซอร์ ซึ่งเป็นหมู่บ้านเล็กๆทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศธิเบต มีพี่น้องทั้งหมด 8 คน เสียชีวิตไปแล้ว 4 คน ยังมีชีวิตอยู่ 4 คน คือ
บรรทัด 33:
3. ลอบซัง สามเท็น(ชาย)
 
4. ลาโม ทอนดุป(ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 อวตารมาเกิด)
 
ในครอบครัวของเด็กชายลาโมมี “ตุลกู" อีกคนหนึ่งคือ ทุบเท็น จิกเม นอร์บู ซึ่งได้รับการพิสูจน์และยอมรับว่าเป็น ลามะ ตักเซอร์ ริมโปเช่ ลามะชั้นสูงท่านหนึ่งกลับชาติมาเกิด และต่อมาเขาได้ไปอยู่ที่วัดกุมบุมอันเป็นวัดที่ลามะ ตักเซอร์ ริมโปเช่ เคยอยู่เมื่อในอดีตชาติ
 
มารดาของเด็กชายลาโม(ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 14) เล่าถึงเรื่องราวการจำอดีตชาติได้ของเด็กชายลาโมว่า เด็กชายลาโมป็นเด็กที่มีความเมตตาสูง ชอบช่วยเหลือผู้คนโดยเฉพาะคนที่อ่อนแอกว่า เขาชอบเก็บข้าวของลงกระเป๋าเดินทางโดยบอกว่า “ฉันจะไปลาซา” เวลาที่กินข้าวกับครอบครัวเขาจะนั่งหัวโต๊ะเสมอและไม่ยอมให้ใครถือชามอาหารนอกจากมารดา สิ่งต่างๆเหล่านี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่แสดงว่า เด็กชายลาโมจำอดีตชาติได้ แต่มารดาของเด็กชายลาโมคิดไม่ถึงว่าเด็กชายลาโมจะเป็น ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 กลับชาติมาเกิด และคิดไม่ถึงว่าในครอบครัวจะมี “ตุลกู” ถึงสองคน (มารดาของ ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 14 ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2524)
 
ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 14 ทรงเล่าเรื่องราวการจำอดีตชาติของท่านไว้ในหนังสืออัตชิวประวัติของตัวท่านเองว่า ปัจจุบันนี้ท่านจำเรื่องราวในอดีตไม่ค่อยได้แล้ว เพราะว่าเหตุการณ์ได้เกิดขึ้นในขณะที่ท่านยังเด็กมาก เท่าที่พอจำได้ก็เป็นเรื่องราวที่มารดาของท่านเล่าให้ท่านฟังเมื่อตอนที่ท่านโตแล้วเท่านั้น เมื่อกล่าวถึงการที่ท่านลืมเรื่องราวในอดีตชาตินั้น ท่านเองคิดว่าอาจมีสาเหตุมาจากการที่ท่านแอบกินกินไข่ ซึ่งโบราณเชื่อว่าคนที่จำอดีตชาติได้ถ้ากินไข่แล้ว จะทำให้ลืมเรื่องราวในอดีตชาติ ซึ่งท่านได้กล่าวถึงเรื่องนี้ไว้ว่า “อาตมาถูกห้ามไม่ให้รัปทานอาหารบางชนิดเช่น ไข่ และ หมู จำได้ว่าครั้งหนึ่ง ยอปเค็นโป ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่จับได้ว่าอาตมาเสวยไข เขาตกใจมากพอๆกับอาตมา” โดยส่วนตัวของท่านเอง ท่านไม่ได้ให้ความสนใจเรื่องราวในอดีตชาติมากนัก เพราะท่านลืมไปมากแล้ว แต่เรื่องราวในช่วงที่ท่านจำความได้นั้น มีความสำคัญไม่แพ้กัน เพราะเป็นสิ่งที่ทำให้ท่านรู้สึก มีความผูกพันกับอดีตชาติของท่านดังเช่น
 
ครั้งหนึ่งท่านไปเยี่ยม วัดเซรา และ วัดครีบุง ซึ่งเป็นสถานศึกษาสูงสุดของธิเบตเป็นครั้งแรก ท่านรู้สึกคุ้นเคยกับสถานที่ของวัดทั้งสองมาก ราวกับว่าท่านเคยมาที่นี่มาก่อน ดังคำพูดตอนหนึ่งของท่านที่ว่า “อาตมาต้องเป็นกังวลที่จะต้องเยี่ยมวัด ซึ่งเป็นสถานศึกษาสูงสุดของธิเบตเป็นครั้งแรกในชีวิต แต่มีบางอย่างที่ทำให้รู้สึกคุ้นเคยและทำให้ค่อนข้างแน่ใจถึงความสัมพันธ์ในอดีตชาติของอาตมา กับสถานที่เหล่านั้น”
 
ข้อที่น่าสังเกตอีกอย่างหนึ่งคือ ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 13 นั้นท่านจะมีญาณพิเศษสามารถรู้เหตุการณ์ล่วงหน้าได้ ส่วนดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 14 นั้นจะรับรู้เหตุการณ์ในอนาคตได้จากความฝัน ซึ่งเมื่อก่อนท่านคิดว่ามันเป็นเพียงความฝันธรรมดา แต่เมื่อเวลาผ่านไปท่านจึงเข้าใจว่า สิ่งที่ท่านเห็นนั้นคือภาพในอนาคตที่มาให้ท่านเห็นในรูปของความฝันนั่นเอง ดังคำพูดของท่านตอนหนึ่งที่ว่า “อาตมามีประสบการณ์แปลกๆหลายประการ โดยเฉพาะในรูปของความฝัน แม้ว่าตอนนั้นจะดูไม่สำคัญ แต่บัดนี้อาตมาเข้าใจแล้วว่ามันมีความสำคัญอย่างไร” ตัวอย่างความฝันที่กลายเป็นจริงของท่านคือ คืนหนึ่งขณะที่ท่านหลับสนิทท่านได้ฝันเห็นหมู่บ้านของท่านซึ่งอยู่ห่างไกลออกไปถูกเผาทำลาย ผู้คนถูกฆ่าตายเห็นศพคนตายเกลื่อนไปหมด คนที่ได้รับบาดเจ็บก็ร้องโหยหวนด้วยความเจ็บปวด ทรมาน เมื่อท่านตื่นขึ้นมาทรงตกใจมาก หลายคนปลอบใจท่านว่าเป็นฝันร้ายธรรมดาเท่านั้น แต่ต่อมาความฝันนั้นก็ได้รับการพิสูจน์ เมื่อกองทัพจีนได้บุกทำลายหมู่บ้านของท่าน ผู้คนล้มตายเป็นอันมาก จึงเป็นที่มาของคำพูดของท่านดังที่กล่าวมาแล้ว และยังมีอีกหลายความฝัน ซึ่งต่อมาท่านได้ให้ความสำคัญกับความฝันของท่านเป็นพิเศษ
 
ปัจจุบันนี้ ดาไลลามะตาแลลามาองค์ที่ 14 ได้ลี้ภัยไปอยู่ในประเทศอินเดีย และยังคงต่อสู้เพื่ออิสรภาพของประเทศธิเบตและประชาชนของท่าน...ต่อไป
 
== องค์ดาไลลามะตาแลลามา ==
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีองค์ทะไลลามะตาแลลามาทั้งหมด 14 องค์แล้วดังนี้
 
{| class="wikitable"
! !! ภาพ !! พระนาม !! ช่วงอายุ !! ช่วงดำรงฐานะ !! [[ภาษาทิเบต|ทิเบต]]/[[อักษรไวลี|ไวลี]] !! ภาษาพินอินทิเบตแกะตามจีนกลาง !! สะกดแบบอื่น
|- ----
| 1. || [[ไฟล์:1st Dalai Lama.jpg|111px]] || [[ทะไลลามะ องค์ที่หนึ่ง|ตาแลลามา องค์ที่หนึ่ง]] <br />เกนดุนตวิน ดรัปชรุบ <br /> (Gendun Drup)|| [[พ.ศ. 1934]] – [[พ.ศ. 2017|2017]] || ? <ref name="posthumous">The title "Dalai Lama" was conferred posthumously to the first and second Dalai Lamas. The 9th Dalai Lama was officially enthroned but never reigned.</ref> || དྒེ་འདུན་འགྲུབ་<br />''dge ‘dun ‘grub'' || Gêdün Chub || Gedun Drub Gedün Drup Gendun Drup
|- ----
| 2. || [[ไฟล์:Second Dalai Lama.jpg|111px]] || [[ทะไลลามะ องค์ที่สอง|ตาแลลามา องค์ที่สอง]] <br />เกนดุนตวิน เกียตโซกยาโช<br /> (Gendun Gyatso)|| [[พ.ศ. 2018]] – [[พ.ศ. 2084|2084]] || ? <ref name=posthumous /> || དགེ་འདུན་རྒྱ་མཚོ་<br />''dge ‘dun rgya mtsho'' || Gêdün Gyaco || Gedün Gyatso Gendün Gyatso
|- ----
| 3. || [[ไฟล์:Цыбиков Далай-лама III.png|111px]] || [[ทะไลลามะ องค์ที่สาม|ตาแลลามา องค์ที่สาม]]<br /> โซนัมเซอนัม เกียตโซกยาโช <br /> (Sonam Gyatso)|| [[พ.ศ. 2086]] – [[พ.ศ. 2131|2131]] || [[พ.ศ. 2121]] – [[พ.ศ. 2131|2131]] || བསོད་ནམས་རྒྱ་མཚོ་<br />''bsod nams rgya mtsho'' || Soinam Gyaco || Sönam Gyatso
|- ----
| 4. || [[ไฟล์:4DalaiLama.jpg|111px]] || [[ทะไลลามะตาแลลามา องค์ที่สี่]] <br /> ยอนเทนเยินแตน เกียตโซกยาโช <br /> (Yonten Gyatso)|| [[พ.ศ. 2132]] – [[พ.ศ. 2159|2159]] || ? || ཡོན་ཏན་རྒྱ་མཚོ་<br />''yon tan rgya mtsho'' || Yoindain Gyaco || Yontan Gyatso
|- ----
| 5. || [[ไฟล์:5th Dalai Lama.jpg|111px]] || [[ทะไลลามะตาแลลามา องค์ที่ห้า]] <br />ลอบซังโลซัง เกียตโซกยาโช <br /> (Lobsang Gyatso)|| [[พ.ศ. 2160]] – [[พ.ศ. 2225|2225]] || [[พ.ศ. 2185]] – [[พ.ศ. 2225|2225]] || བློ་བཟང་རྒྱ་མཚོ་<br />''blo bzang rgya mtsho'' || Lobsang Gyaco || Lobzang Gyatso Lopsang Gyatso
|- ----
| 6. || [[ไฟล์:6DalaiLama.jpg|111px]] || [[ทะไลลามะตาแลลามา องค์ที่หก]] <br /> ซังยางจังยัง เกียตโซกยาโช <br /> (Tsangyang Gyatso)|| [[พ.ศ. 2226]] – [[พ.ศ. 2249|2249]] || ? – [[พ.ศ. 2249]] || ཚང་དབྱངས་རྒྱ་མཚོ་<br />''tshang dbyangs rgya mtsho'' || Cangyang Gyaco ||
|- ----
| 7. || [[ไฟล์:7DalaiLama.jpg|111px]] || [[ทะไลลามะตาแลลามา องค์ที่เจ็ด]] <br /> เคลซังแกซัง เกียตโซกยาโช <br /> (Kelzang Gyatso) || [[พ.ศ. 2251]] – [[พ.ศ. 2300|2300]] || [[พ.ศ. 2294|2294]] – [[พ.ศ. 2300|2300]] || བསྐལ་བཟང་རྒྱ་མཚོ་<br />''bskal bzang rgya mtsho'' || Gaisang Gyaco || Kelsang Gyatso Kalsang Gyatso
|- ----
| 8. || [[ไฟล์:Jamphel Gyatso, 8th Dalai Lama - AMNH - DSC06244.JPG|111px]] || [[ทะไลลามะตาแลลามา องค์ที่แปด]]<br /> จัมเปลจยัมแป เกียตโซกยาโช <br /> (Jamphel Gyatso)|| [[พ.ศ. 2301]] – [[พ.ศ. 2347|2347]] || [[พ.ศ. 2329]] – [[พ.ศ. 2347|2347]]|| བྱམས་སྤེལ་རྒྱ་མཚོ་<br />''byams spel rgya mtsho'' || Qambê Gyaco || Jampel Gyatso Jampal Gyatso
|- ----
| 9. || [[ไฟล์:Lungtok Gyatso.jpg|111px]]|| [[ทะไลลามะตาแลลามา องค์ที่เก้า]] <br /> ลังต็อกลุงตก เกียตโซกยาโช <br /> (Lungtok Gyatso)|| [[พ.ศ. 2349]] – [[พ.ศ. 2358|2358]] || [[พ.ศ. 2351]] – [[พ.ศ. 2358|2358]] <ref name="posthumous" /> || ལུང་རྟོགས་རྒྱ་མཚོ་<br />''lung rtogs rgya mtsho'' || Lungdog Gyaco || Lungtog Gyatso
|- ----
| 10. || [[ไฟล์:10thDalaiLama.jpg|111px]]|| [[ทะไลลามะตาแลลามา องค์ที่สิบ]] <br /> ซุลทริมชวีชริม เกียตโซกยาโช<br /> (Tsultrim Gyatso)|| [[พ.ศ. 2359]] – [[พ.ศ. 2380|2380]] || ? || ཚུལ་ཁྲིམ་རྒྱ་མཚོ་<br />''tshul khrim rgya mtsho'' || Cüchim Gyaco || Tshültrim Gyatso
|- ----
| 11. || [[ไฟล์:11thDalaiLama.jpg|111px]]|| [[ทะไลลามะตาแลลามา องค์ที่สิบเอ็ด]]<br />เคดรัปแคชรุบ เกียตโซกยาโช <br /> (Khedrup Gyatso)|| [[พ.ศ. 2381]] – [[พ.ศ. 2399|2399]] || [[พ.ศ. 2387]] – [[พ.ศ. 2399|2399]]|| མཁས་གྲུབ་རྒྱ་མཚོ་<br />''mkhas grub rgya mtsho'' || Kaichub Gyaco || Kedrub Gyatso
|- ----
| 12. || [[ไฟล์:12thDalaiLama.jpg|111px]]|| [[ทะไลลามะตาแลลามา องค์ที่สิบสอง]] <br />ทรินเลย์ชรินแล เกียตโซกยาโช<br /> (Trinley Gyatso)|| [[พ.ศ. 2400|2400]] – [[พ.ศ. 2418|2418]] || ? || འཕྲིན་ལས་རྒྱ་མཚོ་<br />''‘phrin las rgya mtsho'' || Chinlai Gyaco || Trinle Gyatso
|- ----
| 13. || [[ไฟล์:Thubten Gyatso, the 13th Dalai Lama.jpg|111px]]|| [[ทะไลลามะตาแลลามา องค์ที่สิบสาม]] <br />ทับเทนทุบแตน เกียตโซกยาโช<br /> (Thubten Gyatso)|| [[พ.ศ. 2419]] – [[พ.ศ. 2476|2476]] || [[พ.ศ. 2422]] – [[พ.ศ. 2476|2476]] || ཐུབ་བསྟན་རྒྱ་མཚོ་<br />''thub bstan rgya mtsho'' || Tubdain Gyaco || Thubtan Gyatso Thupten Gyatso
|- ----
| 14. ||[[ไฟล์:Dalai Lama at Syracuse University 01.jpg|111px]] || [[ทะไลลามะที่ 14|ตาแลลามา องค์ที่สิบสี่]] <br /> เทนซินแตนจิน เกียตโซกยาโช <br /> (Tenzin Gyatso) || [[พ.ศ. 2478]] – ปัจจุบัน || [[พ.ศ. 2493]] – ปัจจุบัน <br /> (อยู่นอกทิเบต)|| བསྟན་འཛིན་རྒྱ་མཚོ་<br />''bstan ‘dzin rgya mtsho'' || Dainzin Gyaco ||
|}