ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 67:
ในปี[[พ.ศ. 2455]] ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ต่อมาได้เป็นอาจารย์ประจำกองแบบเรียนกรมวิชาการ อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี[[พ.ศ. 2474]] ในปี[[พ.ศ. 2475]] เป็นอาจารย์โท อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังได้เป็นหัวหน้าแผนกฝึกหัดครูมัธยม คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรักษาการในตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนมัธยมหอวังในปี[[พ.ศ. 2477]] อีกด้วย หม่อมหลวงปิ่นได้เป็นอาจารย์เอก อันดับ 1
 
ต่อมาในปี[[พ.ศ. 2480]] ท่านได้ก่อตั้ง[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา|โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] โรงเรียนสหศึกษาแห่งแรกในประเทศไทย ท่านดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการท่านแรก 5 ปีต่อมาในปี [[พ.ศ. 2485]] ได้รับแต่งตั้งเป็นอธิบดีกรมสามัญศึกษาอีกตำแหน่งหนึ่งอีกด้วย ในปี [[พ.ศ. 2487]] ท่านได้พ้นจากตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและเป็นที่ปรึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและทำงานในหน้าที่เลขาธิการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5 ปีต่อมาในปี [[พ.ศ. 2485]] ได้รับแต่งตั้งเป็นอธิบดีกรมสามัญศึกษาอีกตำแหน่งหนึ่งอีกด้วย ในปี [[พ.ศ. 2487]] ท่านได้พ้นจากตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและเป็นที่ปรึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและทำงานในหน้าที่เลขาธิการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
ในปี [[พ.ศ. 2489]] ท่านดำรงตำแหน่งเป็นปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และในปี [[พ.ศ. 2495]] - [[พ.ศ. 2496]] ท่านได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมวิชาการ หลังจากนั้นในปี [[พ.ศ. 2497]] ได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมการฝึกหัดครู รักษาการอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา ศาสตราจารย์พิเศษใน[[คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
เส้น 96 ⟶ 95:
== การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ==
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ก่อตั้ง[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]]ขึ้น เมื่อวันที่ [[3 มกราคม]] [[พ.ศ. 2480]] โดยนักเรียนเริ่มเรียนในเดือน[[พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2481]] โดยมี ฯพณฯ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียน ในปีแรกๆ โรงเรียนได้เจริญขึ้นเป็นลำดับ เช่น ทางด้านวิชาการมีผลเป็นที่น่าพอใจ การสร้างตึก 2 แล้วเสร็จในปี [[พ.ศ. 2482]] และต่อมาได้สร้างตึก 3 ไปจนจด[[ถนนอังรีดูนังต์]] ในเวลานี้นอกจากผลงานทางด้านวิชาการจะเป็นที่น่าพอใจแล้ว นักเรียนยังได้แสดงความสามารถในการเล่นกีฬาต่างๆต่าง ๆ ที่หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้นำเข้ามาในโรงเรียน เช่น [[ฮอกกี้]] [[รักบี้]] และ[[ฟุตบอล]] เข้าเกณฑ์ที่กล่าวได้ว่า "เรียนก็เด่น เล่นก็ดี กีฬาเลิศ"
 
นอกจากนี้หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ยังมีวิสัยทัศน์อันกว้างไกล ในการดำเนินการศึกษา ให้แก่นักเรียนเตรียมอุดมศึกษา ด้วยเล็งเห็นว่า โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่มุ่งเตรียมเข้าสู่ระดับอุดมศึกษา จึงจัดสหศึกษาของวัยรุ่นด้วยความรอบคอบระมัดระวัง โดยการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการ ควบคู่คุณธรรมดังที่ท่านเคยกล่าวไว้ว่า
เส้น 140 ⟶ 139:
== บั้นปลายชีวิต ==
[[ไฟล์:หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล2.jpg|thumb|222px|หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล]]
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ [[5 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2538]] สิริอายุได้ 91 ปี 11 เดือน 11 วัน โดยได้รับพระทานโกศไม้สิบสองบรรจุศพ ตั้งศพไว้ที่ศาลาบัณรสภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม โดย[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] และ [[สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี]] ทรงพระกรุณาเสด็จไปสดับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพ และได้รับพระราชทานเพลิงศพที่[[เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส]] เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2539 หลังจากท่านถึงแก่อสัญกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ โดยความร่วมมือกันของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ สมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ร่วมกันจัดสร้างอนุสาวรีย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ประดิษฐานที่บริเวณข้างสำนักงานอธิการบดี ลานหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยกราบบังคมทูลพระกรุณา [[สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี]] เสด็จมาทรงเปิดอนุสาวรีย์และได้ถือเอาวันที่ [[24 ตุลาคม]] ของทุกปีเป็นวันหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยจัดให้มีการตักบาตร และจุดธูปเทียน วางพวงมาลัยสักการะรำลึกที่บริเวณลานอนุสาวรีย์เป็นประจำทุกปี และได้จัดตั้งห้องเกียรติยศหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ที่บริเวณชั้น ๔ อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยภายในจัดแสดงหนังสือที่ท่านแต่งขึ้น โต๊ะทำงาน ของสะสม เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และครุยวิทยฐานะตลอดจนสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆต่าง ๆ
 
เมื่อวันที่ [[2 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2544]] ท่านได้รับการประกาศเชิดชูเกียรติจาก[[องค์การยูเนสโก]]ยกย่องท่านเป็น "นักการศึกษาดีเด่นของโลก ในสาขาวรรณกรรมและสื่อสาร" ถือเป็นความภาคภูมิใจของชาวเตรียมอุดมทุกคน [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] อัญเชิญรูปปั้น ฯพณฯ ศ.หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล จากหอวชิราวุธานุสรณ์ มาประดิษฐาน ห้อง 57 ตึก 1 เมื่อวันที่ [[25 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2545]]
 
ในวันที่ [[24 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2546]] เป็นวาระครบรอบ 100 ปีของ ฯพณฯ ศ. ม.ล.ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]]จึงดำริที่จะจัดกิจกรรมต่างๆต่าง ๆ เพื่อน้อมรำลึกถึงพระคุณของท่าน นับแต่นี้ต่อไปก็จะมีเพียงการสานต่อแนวความคิดของ ฯพณฯ ให้ปรากฏเป็นผลสมเจตจำนง อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อประโยชน์ของเยาวชน และสังคมไทยตลอดไป
 
==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==