ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองพิทักษ์ปฏิวัติอิสลาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 51:
}}
 
'''กองพิทักษ์การปฏิวัติอิสลาม''' ({{lang-en|Islamic Revolutionary Guard Corps}}; IRGC) หรือชื่อทางการคือ '''กองทัพผู้พิทักษ์การปฏิวัติอิสลาม''' {{lang-fa|سپاه پاسداران انقلاب اسلامی}}) เป็นเหล่าทัพหนึ่งของ[[กองทัพอิหร่าน]] สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1979<ref name=ostovar>{{cite web|last=Ostovar|first=Afshon P.|title=Guardians of the Islamic/muslim Revolution Ideology, Politics, and the Development of Military Power in Iran (1979–2009)|url=http://deepblue.lib.umich.edu/bitstream/handle/2027.42/64683/afshon_1.pdf;jsessionid=DF7BFA33BF18FF73E9117CB0504F14E1?sequence=1|publisher=University of Michigan|accessdate=26 July 2013|format=PhD Thesis|year=2009|archive-url=https://web.archive.org/web/20131002151205/http://deepblue.lib.umich.edu/bitstream/handle/2027.42/64683/afshon_1.pdf;jsessionid=DF7BFA33BF18FF73E9117CB0504F14E1?sequence=1#|archive-date=2 October 2013|url-status=live|df=dmy-all}}</ref> สองสัปดาห์หลัง[[การปฏิวัติอิหร่าน]] โดยคำสั่งของอายะตุลลอฮ์[[รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี]] รัฐธรรมนูญอิหร่านบัญญัติให้เหล่าทัพหนี้ทำหน้าที่พิทักษ์การปกครองในระบอบสาธารณรัฐอิสลาม กองพิทักษ์การปฏิวัติอิสลามโฆษราว่าพวกเขามีหน้าที่พิทักษ์ระบอบอิสลามและป้องกันการแทรงแซงโดยต่างชาติ รวมถึงป้องกันการรัฐประหารหรือความเคลื่อนไหวอันเป็นปฏิปักษ์โดยกองทัพ<ref>{{cite web |author=Morris M Mottale |url=http://www.aljazeera.com/focus/2010/04/2010421104845169224.html |title=The birth of a new class – Focus |publisher=Al Jazeera English |accessdate=29 October 2013 |archive-url=https://web.archive.org/web/20150607031209/http://www.aljazeera.com/focus/2010/04/2010421104845169224.html# |archive-date=7 June 2015 |url-status=live |df=dmy-all }}</ref>
 
กองพิทักษ์การปฏิวัติอิสลามมีกำลังทหารราว 125,000 นาย มีกองกำลังภาคพื้นดิน, กองกำลังทางอากาศ, กองกำลังภาคพื้นสมุทร, หน่วยข่าวกรอง และหน่วยรบพิเศษเป็นของตัวเองที่ไม่ขึ้นกับเหล่าทัพอื่น ในทางเทคนิคถือเป็นเหล่าทัพที่ทรงอิทธิพลที่สุดของกองทัพอิหร่าน และเป็นเหล่าทัพที่ใกล้ชิดกับรัฐบาลอิหร่านมากที่สุด ทั้งนี้ รัฐบาลของบางประเทศอย่างสหรัฐ ประเทศบาห์เรน และประเทศซาอุดีอาระเบีย ถือว่าเหล่าทัพนี้เป็นองค์การก่อการร้าย<ref>{{Cite web|url=https://www.cnn.com/2019/04/08/politics/iran-us-irgc-designation/index.html|title=Trump designates elite Iranian military force as a terrorist organization|author=Nicole Gaouette|website=CNN|access-date=2019-05-10|archive-url=https://web.archive.org/web/20190514022257/https://www.cnn.com/2019/04/08/politics/iran-us-irgc-designation/index.html|archive-date=14 May 2019|url-status=live}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://www.euronews.com/2018/10/23/saudi-bahrain-add-irans-irgc-to-terror-lists-spa|title=Saudi, Bahrain add Iran's IRGC to terror lists - SPA|date=2018-10-23|website=euronews|language=en|access-date=2019-05-10|archive-url=https://web.archive.org/web/20190510040315/https://www.euronews.com/2018/10/23/saudi-bahrain-add-irans-irgc-to-terror-lists-spa|archive-date=10 May 2019|url-status=live}}</ref>
 
==อ้างอิง==