ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของเอกภพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาลเอกภพ''' ({{lang-en|cosmic microwave background radiation}}; เรียกย่อว่า CMB, MBR, หรือ CMBR}}) เป็น[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]รูปแบบหนึ่งที่แผ่อยู่ใน[[เอกภพ]]<ref> {{cite journal |author=A.A. Penzias and R.W. Wilson |title=A Measurement of Excess Antenna Temperature at 4080 Mc/s |journal=Astrophysical Journal |volume=142 |pages=419–421 |year=1965 |doi=10.1086/148307}}</ref> กล่าวให้เข้าใจง่าย เมื่อเรามองดูท้องฟ้าด้วย[[กล้องโทรทรรศน์วิทยุ]] ห้วงอวกาศระหว่าง[[ดาวฤกษ์|ดาว]]และ[[ดาราจักร]]ต่างๆ จะไม่เป็นสีดำ แต่กลับมีการเรืองแสงน้อยๆ อยู่ที่เกือบจะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยเส้นเรืองแสงนั้นไม่ได้มาจากดาวฤกษ์หรือดาราจักรใดๆ เลย เส้นเรืองแสงนี้จะเข้มที่สุดในย่าน[[คลื่นไมโครเวฟ]]ของสเปกตรัมวิทยุ มันจึงได้ชื่อว่า รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล ส่วนที่เกี่ยวข้องกับ[[รังสี]]ก็เนื่องมาจากทฤษฎีซึ่งเป็นที่แพร่หลายที่อธิบายว่า การแผ่รังสีนี้เป็นสิ่งหลงเหลือจากเอกภพยุคแรกเริ่ม การตรวจวัดการแผ่รังสีพื้นหลังของจักรวาลอย่างแม่นยำมีความสำคัญมากในการศึกษา[[จักรวาลวิทยา]] เพราะแบบจำลองของเอกภพใดๆ ก็ตามจะต้องสามารถอธิบายการแผ่รังสีที่ตรวจพบนี้ได้ด้วย
 
การค้นพบเกิดขึ้นในปี [[ค.ศ. 1965]] ที่ว่ากันว่าเป็นรังสีที่แผ่ปกคลุมทั้ง[[เอกภพ]] มี[[สเปกตรัม]]คล้ายกับ[[วัตถุดำ]]ที่มีอุณหภูมิ 2.725 [[เคลวิน]]ในช่วง[[ความถี่]]160.2 กิโลเฮิร์ตซ์ หรือคำนวณเป็น[[ความยาวคลื่น]]ประมาณ 1.9 [[มิลลิเมตร]]นัก[[จักรวาลวิทยา]]ส่วนใหญ่คิดว่าไมโครเวฟพื้นหลังนี้เป็นหลักฐานที่ดีที่สุดสำหรับการสนับสนุนทฤษฎี[[บิ๊กแบง]] อันเป็นทฤษฎีการกำเนิด[[เอกภพ]]ที่ได้รับความเชื่อถือมากที่สุดในปัจจุบัน
บรรทัด 8:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.astroscience-berlin.org/index.php/become จง "ฟัง" เสียงสะท้อนของบิกแบง]
{{โครงดาราศาสตร์}}
 
 
[[หมวดหมู่:จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ]]
เส้น 15 ⟶ 13:
[[หมวดหมู่:ดาราศาสตร์วิทยุ]]
[[หมวดหมู่:จักรวาลวิทยา]]
{{โครงดาราศาสตร์}}