ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
[[Fileไฟล์:Black_hole_lensing_web.gif|thumb|200px|ภาพจำลองแอนิเมชันของ[[เลนส์ความโน้มถ่วง]]ซึ่งเกิดจาก[[การวัดของชวาทซ์ชิลท์|หลุมดำชวาทซ์ชิลท์]]ที่เคลื่อนผ่านในระนาบแนวสายตาไปยังดาราจักรพื้นหลัง ด้วยการวางตัวที่แน่นอนของเวลารอบ ๆ และที่จุดนั้น ([[ซินิจี (ดาราศาสตร์)|ซินิจี]]) ทำให้สังเกตเห็นได้ถึงการหักเหของแสงอย่างชัดเจน]]
 
'''ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง''' ({{lang-en|gravitational singularity}}) '''ภาวะเอกฐานของปริภูมิ-เวลา''' ({{lang-en|spacetime singularity}}) หรือ '''ซิงกูลาริตี''' ({{lang-en|singularity}}) เป็นสถานที่ใน[[ปริภูมิ-เวลา]]ที่สนาม[[ความโน้มถ่วง]]ของเทห์ฟากฟ้าถูกคาดการณ์ไว้ว่ามีค่าเป็น[[อนันต์]]โดยใช้[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]]ในลักษณะที่ไม่ขึ้นกับ[[ระบบพิกัด]] กล่าวคือ ปริมาณต่าง ๆ ที่ใช้ในการวัดความเข้มของสนามความโน้มถ่วงเป็น[[Curvature invariant (general relativity)|ค่าคงที่ความโค้งเชิงสเกลาร์]]ของปริภูมิ-เวลา ซึ่งประกอบไปด้วยการวัดความหนาแน่นของสสาร แต่เนื่องจากปริมาณที่กล่าวมามีค่าเป็นอนันต์ ณ ที่ซิงกูลาริตี ฉะนั้นกฎของปริภูมิ-เวลาแบบปกติจึงไม่สามารถใช้ได้<ref>{{cite web|url=http://www.physicsoftheuniverse.com/topics_blackholes_singularities.html|title=Blackholes and Wormholes}}</ref><ref>{{cite journal|url=http://www.einstein-online.info/spotlights/singularities|title=Spacetime Singularities|author=Claes Uggla|journal=Einstein Online |volume=2 |year=2006 |number=1002}}</ref>