ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:Black_hole_lensing_web.gif|thumb|200px|ภาพจำลองแอนิเมชันของ[[เลนส์ความโน้มถ่วง]]ซึ่งเกิดจาก[[การวัดของชวาทซ์ชิลท์|หลุมดำชวาทซ์ชิลท์]]ที่เคลื่อนผ่านในระนาบแนวสายตาไปยังดาราจักรพื้นหลัง ด้วยการวางตัวที่แน่นอนของเวลารอบ ๆ และที่จุดนั้น ([[ซินิจี (ดาราศาสตร์)|ซินิจี]]) ทำให้สังเกตเห็นได้ถึงการหักเหของแสงอย่างชัดเจน]]
'''ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง''' ({{lang-en|gravitational singularity}}) คือภาวะซึ่งเกิดขึ้นเมื่อลักษณะ[[ดาราศาสตร์ฟิสิกส์]]ที่มีพื้นฐานมาจาก[[สัมพัทธภาพทั่วไป]] (general relativity) โดยมีเหตุมาจากการคาดการณ์[[พฤติกรรมเชิงอายุรการ]] (pathological bahavior) ของ[[ปริภูมิ-เวลา]] (space-time) เช่นความโค้งของอวกาศ-เวลาที่มีค่าเป็น[[อนันตภาพ|อนันต์]] (infinite) นิยามนี้มีความคล้ายคลึงกับ[[ภาวะเอกฐานเชิงคณิตศาสตร์]] (mathematical singularity) เป็นอย่างมากในเชิงที่ว่าภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วงนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อสมการแสดงภาวะเอกฐานเชิง[[คณิตศาสตร์]]
 
'''ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง''' ({{lang-en|gravitational singularity}}) '''ภาวะเอกฐานของปริภูมิ-เวลา''' ({{lang-en|spacetime singularity}}) หรือ '''ซิงกูลาริตี''' ({{lang-en|singularity}}) เป็นสถานที่ใน[[ปริภูมิ-เวลา]]ที่สนาม[[ความโน้มถ่วง]]ของเทห์ฟากฟ้าถูกคาดการณ์ไว้ว่ามีค่าเป็น[[อนันต์]]โดยใช้[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]]ในลักษณะที่ไม่ขึ้นกับ[[ระบบพิกัด]] กล่าวคือ ปริมาณต่าง ๆ ที่ใช้ในการวัดความเข้มของสนามความโน้มถ่วงเป็น[[Curvature invariant (general relativity)|ค่าคงที่ความโค้งเชิงสเกลาร์]]ของปริภูมิ-เวลา ซึ่งประกอบไปด้วยการวัดความหนาแน่นของสสาร แต่เนื่องจากปริมาณที่กล่าวมามีค่าเป็นอนันต์ ณ ที่ซิงกูลาริตี ฉะนั้นกฎของปริภูมิ-เวลาแบบปกติจึงไม่สามารถใช้ได้<ref>{{cite web|url=http://www.physicsoftheuniverse.com/topics_blackholes_singularities.html|title=Blackholes and Wormholes}}</ref><ref>{{cite journal|url=http://www.einstein-online.info/spotlights/singularities|title=Spacetime Singularities|author=Claes Uggla|journal=Einstein Online |volume=2 |year=2006 |number=1002}}</ref>
 
ปกติแล้วภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วงถือว่าเนื้อหาของ[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] (ที่ซึ่ง[[ความหนาแน่น]] ณ จุดศูนย์กลางของ[[หลุมดำ]]มีค่าเป็นอนันต์อย่างเด่นชัด) และยังเป็น[[ฟิสิกส์ดาราศาสตร์]]และ[[จักรวาลวิทยา]]ใน[[ภาวะเอกฐานแรกเริ่ม|ช่วงสภาวะแรกเริ่มของเอกภพ]]ขณะเกิด[[บิกแบง]] ในตอนนี้ นักฟิสิกส์ยังไม่สามารถบอกได้ว่าการคาดการณ์ถึงภาวะเอกฐานนี้นั้นจะหมายความว่าภาวะเอกฐานนี้ (หรือภาวะเอกฐานในช่วงบิกแบง) มีอยู่จริง หรืออาจเป็นเพราะความรู้ความเข้าใจในปัจจุบันนั้นยังไม่เพียงพอที่จะการอธิบายว่าเกิดอะไรขึ้นในสภาพความหนาแน่นยิ่งยวดนี้
 
ข้อสังเกตของ[[ภาวะเอกฐาน]]คือ ณ จุดหนึ่งเมื่อความโค้งของอวกาศ-เวลาเกิดการระเบิดขึ้น ล้วนเป็นช่วงที่การอธิบายเป็นการจินตนาการเสียส่วนมาก อย่างไรก็ตามภาวะเอกฐานนั้นสามารถเกิดขึ้นจริงได้แม้ว่าความโค้งของอวกาศ-เวลายังคงไม่เป็นอนันต์อยู่ก็ตาม