ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พินิจ รัตนกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 202.28.180.202 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Manop
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''รองศาสตรจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล''' สำเร็จการศึกษาจากอักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) จาก[[คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] จากนั้น ได้เดินทางไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทและเอก สาขาวิชา[[ปรัชญา]] ที่[[มหาวิทยาลัยเยล]] [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ[[วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล]]
 
รองศาสตรจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล นับเป็นบุคคลที่มีความบทบาทสำคัญมากต่อในการพัฒนานำวิชา[[ศาสนาเปรียบเทียบ]]ปรัชญามาศึกษาในหลักสูตรการศึกษาของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย เพื่อฝึกฝนนักศึกษาให้รู้จักคิดอย่างเป็นระบบ โดยท่านเริ่มต้นที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนั้นยังเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้ง [[ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]] ต่อมา พร้อมทั้งสร้างหลักสูตรปริญญาโท ท่านต้องการพัฒนาสาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบขึ้นมา เพื่อส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยศาสนาในเชิงเปรียบเทียบให้มีประสิทธิภาพกว้างขวางขึ้นในประเทศ ต่อมา จึงได้ดำเนินขยายการก่อตั้งศึกษาวิชาศาสนาให้กว้างขวางและเป็นประโยชน์มากขึ้น ด้วยการจัดตั้งวิทยาลัยศาสนศึกษา ศาสนศึกษาในมหาวิทยาลัยมหิดลขึ้น และหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาศาสนศึกษา เพื่อผลิตอาจารย์ระดับ[[ประถมศึกษา]] บัณฑิตให้มีความรู้ทางศาสนาเป็นพื้นฐานของชีวิตและระดับ[[มัธยมศึกษา]]ในการทำงาน และเพื่อผลิตครูอาจารย์สำหรับสอนวิชาศาสนาหลัก ๆ ของประเทศ อันได้แก่ [[พระพุทธศาสนา]], [[ศาสนาคริสต์]], [[ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู]] ในโรงเรียนประถมศึกษาและ[[ศาสนาอิสลาม]]มัธยมศึกษา ปัจจุบัน วิทยาลัยศาสนศึกษาได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในฐานะที่เป็นแหล่งผลิตครูผู้ชำนาญวิชาศีลธรรมสถาบันการศึกษาชั้นนำแห่งหนึ่งของประเทศในเรื่องการศึกษาศาสนาเชิงวิชาการ
 
ท่านได้รองศาสตราจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล สมรสกับศาสตราจารย์ ดร. คุณหญิง[[สุริยา รัตนกุล]] มีบุตร 2 คนคือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์[[ สุทธพร รัตนกุล]] อาจารย์[[วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล]] และนายแพทย์ [[พิทยะ รัตนกุล]]ผู้ซึ่ง ทั้งสองได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามทั้งสองคนเป็นสิริมงคล
 
งานเขียนของท่านทางปรัชญาและพุทธศาสนามีทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ งานเขียนล่าสุดเป็นการสร้างองค์ความรู้ทางชีวจริยศาสตร์ขึ้นมาในประเทศ โดยใช้คำสอนในพุทธศาสนาเป็นพื้นฐาน