ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุริยุปราคา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Paitayza (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Paitayza (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 94:
* ครั้งที่ 5 เกิดสุริยุปราคาเต็มดวง ในเขต 11 จังหวัด ได้แก่ [[จังหวัดตาก]] [[จังหวัดกำแพงเพชร]] [[จังหวัดอุทัยธานี]] [[จังหวัดนครสวรรค์]] [[จังหวัดลพบุรี]] [[จังหวัดเพชรบูรณ์]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] [[จังหวัดบุรีรัมย์]] [[จังหวัดสระแก้ว]] [[จังหวัดพิจิตร]] และ [[จังหวัดชัยภูมิ]] เมื่อวันที่ [[24 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2538]]<ref>[http://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEgoogle/SEgoogle1951/SE1995Oct24Tgoogle.html Total Solar Eclipse of 1995 Oct 24]</ref>
 
* ครั้งที่ 6 เกิดสุริยุปราคาบางส่วน ในทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2562

'''การตรวจสอบด้วยคณิตกรณ์'''
 
[[อาณาจักรอยุธยา]] ระหว่าง พ.ศ. 1893-2310 ใช้เวลาถึง 417 ควรมีสุริยุปราคาครบทุกรูปแบบ ไม่ว่าแบบบางส่วน แบบวงแหวน แบบเต็มดวง และแบบผสม หลายครั้งแนวคราสก็พาดผ่านเข้ามาในเขตสยาม แต่หากเจาะจงเฉพาะเกาะเมืองกรุงศรีอยุธยา ความน่าจะเป็นที่จะได้เห็นสุริยุปราคาเต็มดวงพาดผ่าน มีอย่างน้อย 1-2 ครั้ง เพราะโดยเฉลี่ยทั่วโลกแล้ว จะใช้เวลาประมาณ 360 ปีถึงจะได้เห็นสุริยุปราคาเต็มดวงในจุดเดิมอีกครั้ง แต่จากการตรวจสอบด้วยคณิตกรณ์ มีสุริยุปราคาเต็มดวงที่แนวคราสพาดผ่านเกาะเมืองอยุธยาถึง 3 ครั้ง ซึ่งถือว่าสูงกว่าค่าเฉลี่ยทั่วโลก แต่กลับไม่มีในบันทึกประวัติศาสตร์เลยสักครั้ง