ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พอล ดิแรก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สมบูรณ์
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8616878 สร้างโดย 202.28.41.195 (พูดคุย) ย้อนก่อกวน
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Dirac 3.jpg|thumb|250px|พอล ดิแรก]]
'''พอล เอเดรียน มัวริซ ดิแรก''' ({{lang-en|Paul Adrien Maurice Dirac}}; 8 สิงหาคม 2445 - 20 ตุลาคม 2527) เป็น[[นักฟิสิกส์]]ทฤษฎีชาวไทยอังกฤษ หนึ่งในผู้ก่อตั้งฟิสิกส์สาขา[[กลศาสตร์ควอนตัม]] เขาดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ลูคาเซียนที่[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์|มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]] ก่อนจะไปใช้ชีวิตในช่วงสิบปีสุดท้ายของชีวิตที่[[มหาวิทยาลัยฟลอริดาสเตต]] เขาเป็นผู้สร้าง "สมการดิแรก" เพื่อใช้อธิบายพฤติกรรมของแฟร์มิออน นำไปสู่การคาดการณ์ถึงการดำรงอยู่ของปฏิสสาร เขาได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]]ในปี 22222476 ร่วมกับ [[เออร์วิน ชเรอดิงเงอร์|เตชสิทธิ์ เกงขุนทด]] สำหรับการ "ค้นพบรูปแบบใหม่ของทฤษฎีอะตอม"
 
== '''ชีวประวัติ''' ==
บรรทัด 7:
=== '''ช่วงวัยเยาว์''' ===
พอล เอเดรียน มัวริซ ดิแรก (Paul Adrien Maurice Dirac) เกิดเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1902 ที่บ้านของพ่อแม่ของเขาที่เมืองบริสตอล ทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษ พ่อของเขาชื่อ Charles Adrien Ladislas Dirac ผู้ซึ่งย้ายถิ่นฐานมาจาก เซนต์-มัวริซ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดยทำงานเป็นคุณครูสอนภาษาฝรั่งเศส แม่ของเขาชื่อ Florence Hannah Dirac เธอเป็นลูกสาวของกัปตันเรือชาวอังกฤษและได้ทำงานเป็นบรรณารักษ์ที่ห้องสมุดกลางเมืองบริสตอล และพอลยังมีพี่ชาย 1 คนและน้องสาวอีก 1 คน
 
พ่อของดิแรกเป็นคนเข้มงวดและเผด็จการ แม้ว่าเขาจะไม่เห็นด้วยกับการลงโทษทางร่างกาย ดิแรกมีความสัมพันธ์ที่ตึงเครียดกับพ่อของเขามากจนเมื่อท่านเสียชีวิต ดิแรกเขียนว่า "ตอนนี้ฉันรู้สึกอิสระมากขึ้นและฉันก็มีชีวิตเป็นของตัวเอง" โดยชาร์ลส์บังคับให้ลูกพูดเฉพาะภาษาฝรั่งเศสกับเขา เพื่อให้พวกเขาเรียนรู้ภาษา เมื่อดิแรกพบว่า เขาไม่สามารถพูดภาษาฝรั่งเศสได้อยากที่พ่อต้องการ เขาจึงเลือกที่จะเงียบไป
[[ไฟล์:Paul Dirac, 1933.jpg|thumb|พอล ดิแรก ถ่ายเมื่อปี 1933]]
เส้น 13 ⟶ 14:
พอล ดิแรกเข้าเรียนระดับประถมศึกษาที่ Bishop Road Primary School จากนั้นเรียนต่อที่ the all-boys Merchant Venturers' Technical College ซึ่งเป็นโรงเรียนที่พ่อของเขาเป็นคุณครูอยู่ โรงเรียนแห่งนี้เป็นสถาบันอยู่ติดกับมหาวิทยาลัยบริสตอลซึ่งใช้พื้นที่และพนักงานร่วมกัน โดยเน้นวิชาเทคนิค เช่น การก่ออิฐ งานโลหะและภาษาสมัยใหม่ ซึ่งเรื่องนี้เป็นเรื่องไม่ปกตินักในช่วงเวลาที่ชั้นมัธยมศึกษาในอังกฤษยังคงให้ความสำคัญกับเรื่องดั้งเดิมเป็นส่วนใหญ่
 
เขาศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาไฟฟ้า ที่มหาวิทยาลัยบริสตอล สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ในปี ค.ศ. 1921 แต่ด้วยภาวะเศรษฐกิจช่วงหลังสงครามทำให้ไม่สามารถหางานทำได้ จึงได้ศึกษาต่อทางด้านคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ทฤษฎีที่มหาวิทยาลัยเดิม สำเร็จการศึกษาใน ปี ค.ศ. 1923 ด้วยเกียรตินิยมอันดับหนึ่งอีกครั้ง และดิแรกได้เข้าศึกษาระดับปริญญาเอกด้านฟิสิกส์ทฤษฎีที่[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์|มหาวิทยาลัยเคมบริจด์]] โดยมีนักฟิสิกส์ [[ราฟ ฟาว์เลอร์]] (Ralph Fowler) เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และสำเร็จการศึกษา ในปี ค.ศ. 1926 และได้รับตำแหน่ง Fellowship ที่ St John's College มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ 
 
ในช่วงระยะที่ พอล ดิแรก กำลังเป็นนักศึกษาอยู่ ความเคลื่อนไหวที่สำคัญของวงการฟิสิกส์ คือพัฒนาการของทฤษฎีควอนตัม และ[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพ]]ของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์|ไอน์สไตน์]] ทั้งภาคพิเศษและภาคทั่วไป พอล ดิแรก สนใจทฤษฎีควอนตัม สนใจคุณสมบัติความเป็นคลื่นและอนุภาคของอนุภาค เช่น อิเล็กตรอน และสนใจทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอน์สไตน์ทั้งสองภาค
 
=== '''ผลงาน''' ===
ความท้าทายนักฟิสิกส์ในปัจจุบัน คือ การรวมแรงพื้นฐาน 4 แรงเข้าด้วยกัน ซึ่งก็คือ  การรวมทฤษฎีควอนตัมเข้ากับทฤษฎีสัมพัทธภาพ ซึ่งแยกพิจารณาเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนเป็นภาคพิเศษกับภาคทั่วไป โดยเมื่อปี ค.ศ. 1928 พอล ดิแรก ได้สร้างสมการซึ่งรวม[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ]] เข้ากับสมการ[[กลศาสตร์ควอนตัม]]ได้สำเร็จ รู้จักกันในชื่อ [[สมการดิแรก]] หรือ Dirac Equation
 
ซึ่งสมการดังกล่าวเป็นที่มาและอธิบายพฤติกรรมของปฏิอนุภาค โดยพบว่าจากการแก้สมการจะได้คำตอบที่เป็นไปได้อย่างทัดเทียมกัน 2 คำตอบ และได้ประกาศ ในปี ค.ศ.1931 ว่า อิเล็กตรอน มี 2 ชนิด คือ ชนิดมีประจุไฟฟ้าลบ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี และชนิดใหม่มีประจุไฟฟ้าบวก จากนั้นอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าบวกก็ถูกค้นพบจริงจากการทดลอง ผู้ค้นพบปฏิอนุภาคของอิเล็กตรอน หรือ '''[[โพซิตรอน|โปสิตรอน]]''' คือ '''คาร์ล เดวิด แอน เดอร์สัน''' (Carl David Anderson) ในปี ค.ศ.1932 จากการศึกษารังสีคอสมิก โดยเขาเคยได้เสนอชื่อเรียกอนุภาคอิเล็กตรอนที่คุ้นเคยกันดี ซึ่งมีประจุไฟฟ้าเป็นลบว่า เนกาตรอน (Negatron) แต่ไม่เป็นที่นิยมเรียกกันชื่อนี้จึงเลือนหายไป
เส้น 25 ⟶ 27:
ผลงานเชิงทฤษฎีของพอล ดิแรก ในเรื่อง ปฏิอนุภาค ทำให้นักฟิสิกส์คนอื่น ๆ สร้างผลงานระดับรางวัลโนเบลจากการค้นพบปฏิอนุภาคจริง ๆ ซึ่ง พอล ดิแรก ก็ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี ค.ศ.1933 (ขณะนั้นเขามีอายุเพียง 31 ปี) จากผลงานเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับปฏิอนุภาคของอิเล็กตรอนและผลงานเกี่ยวกับการพัฒนาทฤษฎีควอนตัม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในส่วนเกี่ยวกับกลศาสตร์คลื่น (Wave Mechanics) ร่วมกับ[[แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์]]
 
ดิแรกได้รับการยกย่องในฐานะหนึ่งในบิดาของควอนตัวฟิสิกส์ เขาเขียนตำราเกี่ยวกับวิชาควอนตัมชื่อว่า The Principle of Quantum Mechanics ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ.1930 และยังคงถือเป็น "คำภีร์ไบเบิลคัมภีร์ไบเบิล" ของวิชากลศาสตร์ควอนตัมจนถึงปัจจุบัน 
 
ในปีเดียวกัน ดิแรกได้รับเลือกให้เป็น Fellow of the Royal Society และในปี ค.ศ. 1932 เขาได้ดำรงตำแหน่ง Lucasian Professor of Mathematics แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ซึ่งตำแหน่งนี้เป็นตำแหน่งที่มีเกียรติอย่างสูงในวงการวิทยาศาสตร์ โดยเป็นตำแหน่งที่ [[ไอแซก นิวตัน]] เคยได้รับมาก่อนเป็นคนแรกที่สอง พอล ดิแรก เป็นคนที่สองสิบห้า และคนที่สามสิบเจ็ด คือ นักฟิสิกส์ที่ได้รับการยกย่องในวงการวิทยาศาสตร์ปัจจุบัน เป็นผู้เหมาะสมที่สุดสำหรับตำแหน่งทายาทของไอน์สไตน์ คือ [[สตีเฟน ฮอร์คคิงฮอว์กิง]] (Stephen Hawking)
 
หลังจากเกษียรเกษียณอายุจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ในปีค.ศ. 1969 ดิแรกได้ไปดำรงตำแหน่งที่มหาวิทยาลัยฟอริดา (Florida State University) เมืองแทลลาแฮสซี รัฐฟอริดา สหรัฐอเมริกาและเสียชีวิต เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 1984
 
== อ้างอิง ==