ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จริยธรรมแพทย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 1:
'''จริยธรรมแพทย์''' ({{lang-en|medical ethics}}) เป็นส่วนหนึ่งของ[[จริยศาสตร์ประยุกต์]] (applied ethics) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิชา[[จริยศาสตร์]] (Ethicsethics) ในวิชา[[ปรัชญา]] (Philosophyphilosophy) วิชานี้นำเสนอวิธีปฏิบัติบนพื้นฐานหลักจริยธรรมว่า[[แพทย์]]และ[[พยาบาล]]ควรปฏิบัติต่อคนใข้คนไข้อย่างไรจึงจะถูกต้องและเหมาะสม แต่ละประเทศก็จะมีองค์ความรู้ในสาขานี้แตกต่างกันบ้าง เหมือนกันบ้าง องค์ความรู้ที่ตกผลึกในสังคมตะวันตกนั้น ได้แนะนำให้ผู้อยู่ในสาขาแพทย์และพยาบาลปฏิบัติต่อผู้ป่วยดังต่อไปนี้
 
* เน้นประโยชน์[[ผู้ป่วย]]สูงสุด (beneficence)
* สิ่งที่จะทำต้องเน้นไม่ให้ผู้ป่วยได้รับ[[อันตราย]]ใดๆใด ๆ เพิ่มขึ้น (Nonnon-maleficence)
* ผู้ป่วยมี[[สิทธิ์อันชอบธรรม]]ที่จะรู้สาเหตุและอาการ[[ป่วย]]ของตัวเองและ[[เลือกวิธีรักษา]]ตามความเหมาะสม (Autonomyautonomy)
* การรักษาต้องอาศัยความบริสุทธิ์ยุติธรรมไปตาม[[สมมุติฐานโรค]]ของผู้ป่วยแต่ละคนอย่างแท้จริง (Justicejustice)
* ทั้งผู้รักษาหรือผู้ดูแลพยาบาลและคนไข้ต่างมี[[เกียรติ]]และสมควรได้รับการปฏิบัติต่อกันอย่างมีเกียรติ (dignity)
* แพทย์และพยาบาลต้องไม่ปิด[[อาการ]]ป่วยต่อผู้ป่วย และควรให้ผู้ป่วยรับรู้ความหนักเบาของอาการป่วยตามความจริง แต่ทั้งนี้ ต้องดูความเหมาะสมอย่างอื่นประกอบ เช่น [[สภาพจิต]]ผู้ป่วยด้วย (Truthfulnesstruthfulness and Honestyhonesty)
 
นอกจากหลักปฏิบัติเหล่านี้แล้ว ผู้บรรยายวิชานี้ จะนำองค์ความรู้จาก[[ศาสนา]]และ[[วัฒนธรรม]]ท้องถิ่นให้เห็นว่าคล้ายคลึงหรือแตกต่างจากองค์ความรู้ในประเทศตะวันตกอย่างไร เพื่อให้ผู้ป่วยได้ประโยชน์สูงสุดจากการดูแลรักษาของแพทย์และพยาบาล
บรรทัด 48:
| postscript =<!--None-->
}}
 
 
[[หมวดหมู่:การวิจัยทางการแพทย์]]