ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศคอซอวอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Stevanpesic (คุย | ส่วนร่วม)
ส่วนไทยเป็นประเทศลำดับที่ 93 ที่ให้การรับรองคอซอวอ โดยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันในปี พ.ศ. 2556
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ลบเนื้อหาที่ไม่จำเป็น
บรรทัด 52:
คอซอวออยู่ภายใต้การบริหารของ[[สหประชาชาติ]]มาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2542]] ในขณะที่[[เอกราช]]ของเซอร์เบียนั้นเป็นที่ยอมรับในประชาคมโลก โดยแท้จริงแล้ว การปกครองของเซอร์เบียมิได้ปรากฏในจังหวัดนี้เลย องค์กรที่ปกครองคอซอวออยู่คือ[[คณะทำงานสหประชาชาติในคอซอวอ]] (United Nations Mission in Kosovo: UNMIK) และ[[สถาบันการปกครองตนเองชั่วคราว]]ของท้องถิ่น (Provisional Institutions of Self-Government) โดยมี[[กองกำลังคอซอวอ]] (Kosovo Force: KFOR) ภายใต้การนำของ[[องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ]] (NATO) เป็นผู้รักษาความมั่นคง
 
จังหวัดคอซอวอเป็นประเด็นความขัดแย้งทางการเมืองและดินแดนมานานระหว่างชาวเซอร์เบีย (ก่อนหน้านี้คือ[[ชาวยูโกสลาฟ]]) กับชาวแอลเบเนียซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัด การเจรจาในระดับนานาชาติเริ่มขึ้นในปี [[พ.ศ. 2549]] เพื่อตัดสินสถานะสุดท้าย จากรายงานของสื่อแขนงต่าง ๆ คาดกันว่า การเจรจาจะนำมาซึ่งเอกราชของดินแดนแห่งนี้ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง<ref>"[http://www.economist.com/displaystory.cfm?story_id=4489028 Kosovo's status - the wheels grind on]", ''The Economist'', October 6, 2005.</ref><ref>"[http://www.economist.com/world/europe/displaystory.cfm?story_id=8115800 A province prepares to depart]", ''The Economist'', November 2, 2006.</ref><ref>"[http://www.nytimes.com/2006/11/02/world/europe/02kosovo.html?_r=1&adxnnl=1&oref=slogin&ref=world&adxnnlx=1162848637-NqqL4KPuLsP8lqxEzYdhGQ Kosovo May Soon Be Free of Serbia, but Not of Supervision]", by Nicholas Wood, ''The New York Times'', November 2, 2006.</ref><ref>"[http://abcnews.go.com/International/wireStory?id=2665691&CMP=OTC-RSSFeeds0312 Serbia shrinks, and sinks into dejection]", by WILLIAM J. KOLE, ''The Associated Press'', November 19, 2006.</ref> ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 รัฐสภาของคอซอวอประกาศเอกราชของประเทศแต่เพียงฝ่ายเดียว
 
== การออกเสียง ==
บรรทัด 68:
== การรับรองเอกราช ==
[[ไฟล์:CountriesRecognizingKosovo.png|thumb|แผนที่แสดงการรับรองการประกาศเอกราชของคอซอวอ]]
หลังจากการประกาศเอกราชของคอซอวอ มีหลายประเทศให้การรับรองการประกาศเอกราช เช่น [[สหรัฐอเมริกา]] [[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] [[สหราชอาณาจักร]] [[ประเทศตุรกี|ตุรกี]] [[ประเทศแอลเบเนีย|แอลเบเนีย]] [[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]] [[สาธารณรัฐจีน|สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)]] และอีกหลายประเทศ ในขณะเดียวกัน มีหลายประเทศที่ประกาศชัดเจนว่า ไม่รับรองเอกราชของคอซอวอ นอกจาก[[ประเทศเซอร์เบีย|เซอร์เบีย]]ซึ่งเป็นคู่กรณีแล้ว มี[[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]] [[ประเทศสเปน|สเปน]] [[ประเทศไซปรัส|ไซปรัส]] และอีกหลายประเทศ ส่วนไทยเป็นประเทศลำดับที่ 93 ที่ให้การรับรองคอซอวอ โดยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันในปี พ.ศ. 2556<ref>http://rs.n1info.com/English/NEWS/a546106/Dacic-says-95-countries-do-not-recognise-Kosovo-as-state-after-Nauru-s-withdrawal.html</ref><ref>สำนักนายกรัฐมนตรี. [http://www.mfa.go.th/main/contents/files/media-center-20131122-154623-743140.pdf '''ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐคอซอวอ]''' 2556.</ref>
 
== อ้างอิง ==