ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภาขุนนาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขการจัดรัฐบาล
แก้ไขจำนวนกลุ่มเป็นกลาง, ปรับการใช้คำให้เป็นไปในทางเดียวกัน, แก้ไขที่มาของขุนนางตลอดชีพ, เพิ่มเติมข้อมูล
บรรทัด 31:
| สมาชิก = '''795''' ที่นั่ง<br>
:{{Color box|#000000|border=darkgray}} {{larger|[[ประธานสภาขุนนาง]]}} (1)
;{{larger|ขุนนางศาสนาฝ่ายศาสนจักร}}
:{{Color box|#7F00FF|border=darkgray}} [[บิชอป]] (26) {{smaller|ขุนนางศาสนาจะนั่งในฝั่งรัฐบาล}}
;{{larger|ขุนนางอื่น ๆฝ่ายอาณาจักร}}
;'''[[รัฐบาลสหราชอาณาจักร|ฝ่ายรัฐบาล]]'''
:{{Color box|#0087DC|border=darkgray}} [[พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)|พรรคอนุรักษนิยม]] (242)
;'''ฝ่ายค้าน'''
:{{colorbox|#DC241f|border=darkgray}} [[พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)|พรรคแรงงาน]] (183)
;'''กลุ่มฝ่ายอื่นๆ'''
:{{colorbox|#FAA61A|border=darkgray}} [[พรรคเสรีประชาธิปไตย (สหราชอาณาจักร)|พรรคเสรีประชาธิปไตย]] (94)
:{{colorbox|#D46A4C|border=darkgray}} [[พรรคสหภาพประชาธิปไตย]] (4)
บรรทัด 46:
:{{colorbox|#DDDDDD|border=darkgray}} ไม่เข้าร่วมประชุม (48)
:{{colorbox|#C0C0C0|border=darkgray}} [[สมาชิกอิสระ]] (6)
;'''กลุ่มฝ่ายเป็นกลาง'''
:{{colorbox|#808080}} [[สมาชิกที่เป็นกลาง]] (187186) {{smaller|สมาชิกที่เป็นกลางจะนั่งบนม้านั่งขวาง}}
| ห้องประชุม = House_of_Lords_2011.jpg
| ห้องประชุมขนาด = 250px
บรรทัด 57:
'''สภาขุนนาง'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน] พิมพ์คำว่า House of Lords</ref> ({{lang-en|House of Lords}}) เป็น [[สภาสูง]]ใน[[รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร]] มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''คณะขุนนางฝ่ายศาสนจักรและอาณาจักรผู้ทรงเกียรติแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือในที่ประชุมรัฐสภา''' (the Right Honourable the Lords Spiritual and Temporal of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland in Parliament assembled) ประกอบด้วย[[ขุนนาง]]มี[[บรรดาศักดิ์อังกฤษ|บรรดาศักดิ์]]จำนวนเจ็ดถึงแปดร้อยคน ทุกคนมาจากการแต่งตั้งและสืบตระกูล ทำหน้าที่ร่วมกับกับ[[สภาสามัญชน]]ซึ่งเป็นสภาล่างซึ่งมีสมาชิกทั้งหมดจากการเลือกตั้ง
 
ก่อนมีการตราพระราชบัญญัติรัฐสภา ค.ศ. 1911 ที่ลดทอนอำนาจของสภาขุนนางจะแยก สภาขุนนางมีหน้าที่เป็นอิสระสภาสูงในรัฐสภา โดยเมื่อร่างกฎหมายใดๆผ่านการลงมติจากสภาสามัญชนแล้ว โดยจะต้องนำมาให้สภาขุนนางทำการลงมติอีกครั้ง หากสภาขุนนางมีมติไม่รับร่างกฎหมายนั้น ก็จะไม่สามารถนำขึ้นทูลเกล้าฯ ให้พระมหากษัตริย์ลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายได้ รวมไปถึงนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี อาจเป็นสมาชิกสภาขุนนางและบริหารประเทศผ่านสภาขุนนางได้ แต่ในปัจจุบันสภาขุนนางมีอำนาจถ่วงดุลให้คำปรึกษาและตรวจสอบการทำงานของรัฐสภา โดยเฉพาะการพิจารณาเพื่อผ่านร่างกฎหมาย โดยสภาขุนนางมีอำนาจที่จะระงับการบังคับใช้กฎหมายได้ในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้รัฐบาล สภาสามัญชน และประชาชนร่วมกันพิจารณาและทบทวนถึงความจำเป็นของร่างกฎหมายนั้นๆอย่างรอบคอบ แต่หากสภาสามัญชนเห็นว่าร่างกฎหมายนั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ก็สามารถนำขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อลงพระปรมาภิไธยได้ทันทีโดยไม่ต้องนำเข้าที่ประชุมสภาขุนนาง นอกจากนี้สภาขุนนางยังมีหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ และป้องกันมิให้มีกฎหมายใดขัดต่อรัฐธรรมนูญ และสิทธิมนุษยชน ซึ่งในประเทศอื่นๆ จะมีศาลรัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่แทน จนกระทั่งมีการตั้งศาลฎีกาแห่งสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 2009
 
สภาชิกสภาขุนนางแบ่งเป็นสี่ประเภท คือ
 
# '''ขุนนางตลอดชีพ''' (Life Peers) - มาจากการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ ผ่านการเสนอจากนายกรัฐมนตรี และจะดำรงตำแหน่งไปตลอดชีวิต ปัจจุบัน สมาชิกประเภทนี้มีจำนวนมากที่สุด
# '''ขุนนางสืบตระกูล''' (Hereditary Peers) - มาจากการสืบทอดตำแหน่งทางสายโลหิต เดิมสภาขุนนางมีแต่สมาชิกประเภทนี้เท่านั้น ในสมัยหลัง ๆ สมาชิกประเภทนี้ลดจำนวนลง โดย "[[พระราชบัญญัติรัฐสภา ค.ศ. 1999]]" (Parliament Act 1999) กำหนดให้มีเพียงเก้าสิบสองคนเท่านั้น ในการนี้ ให้เก้าสิบคนมาจากการสรรหากันเองโดยสมาชิกสืบตระกูลที่ดำรงตำแหน่งอยู่ก่อนแล้ว อีกสองคน คือ "สมุหพระราชวัง" (Great Lord Chamberlain) และ "สมุหพระราชมนเทียร" (Grand Marshal)
# '''ขุนนางฝ่ายศาสนา''' (Spiritual Peers) - มาจากตัวแทนของศาสนาศาสนจักร เช่น [[บิชอป]]และ[[อาร์ชบิชอป]]ต่าง ๆ (โดยจะต้องมาจาก[[คริสตจักรแห่งอังกฤษ]]เท่านั้น)
# '''ขุนนางกฎหมาย''' (Law Lords) - เป็นสมาชิกที่มีความรู้ด้าน[[กฎหมาย]] และทำหน้าที่เป็นตุลาการศาสสูงสุดของสหราชอาณาจักรจนถึง พ.ศ. 2552 มียี่สิบหกคน