ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดนัย ทายตะคุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Architect
|image = Danai Thaitakoo.jpg
|caption =
|name = ดร. ดนัย ทายตะคุ
|nationality = ไทย
|birth_date =
บรรทัด 8:
|alma_mater = {{bulleted list|
| [[มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์]]
| วิทยาลัยการออกแบบ [[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]]
| [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
| [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]]
บรรทัด 28:
}}
 
'''ดร. ดนัย ทายตะคุ''' (เกิด 3 มีนาคม ?) เป็น[[ภูมิสถาปนิก]]และ[[นักวิจัย]]ชาวไทย ผู้บุกเบิกและผู้เชี่ยวชาญแนวทางการออกแบบ[[ภูมิทัศน์นิเวศวิทยา]] นับว่าเป็น(Landscape Ecology) คนแรกของประเทศไทย
จบมัธยมศึกษาจาก[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] เมื่อ พ.ศ. 2520 หลังจากสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อปี พ.ศ. 2526 แล้ว ได้เริ่มทำงานในตำแหน่งอาจารย์ประจำ[[ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เป็นเวลา 5 ปี จึงศึกษาต่อปริญญาโทสาขาภูมิสถาปัตยกรรมที่[[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]] ใน[[สหรัฐอเมริกา]] ได้รับปริญญา Master of Landscape Architecture เมื่อปี พ.ศ. 2533 และศึกษาต่อปริญญาเอกสาขาการวางแผนสิ่งแวดล้อมที่ [[มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์]]
 
ดร. ดนัย จบมัธยมศึกษาจาก[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] เมื่อ พ.ศ. 2520 หลังจากสำเร็จการแล้ว จึงเลือกศึกษาปริญญาตรีต่อยังภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์สถาปัตยกรรม จาก[[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เมื่อปี พ.ศ. 2526 แล้วโดยสำเร็จการศึกษาเป็นรุ่นแรกของภาควิชา หลังจากจบการศึกษา เขาได้เริ่มทำงานในตำแหน่งอาจารย์ประจำ[[ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เป็นเวลา 5 ปี เขาจึงได้ศึกษาต่อระดับปริญญาโทสาขาภูมิสถาปัตยกรรมที่วิทยาลัยการออกแบบ [[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]] ใน[[สหรัฐอเมริกา]](GSD) ได้รับปริญญา Master of Landscape Architecture เมื่อปี พ.ศ. 2533 และศึกษาต่อปริญญาเอกสาขาการวางแผนสิ่งแวดล้อมที่ [[มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์]]
ปี พ.ศ. 2542 กลับมาดำรงตำแหน่งอาจารย์ในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม และได้ดำรงตำแหน่งประธานหลักสูตรปริญญาโทในปัจจุบัน
 
จนในปี พ.ศ. 2542 เขากลับมาดำรงตำแหน่งอาจารย์ในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้ดำรงตำแหน่งประธานหลักสูตรปริญญาโทในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังเคยเป็นนักวิจัยเชี่ยวชาญพิเศษและอาจารย์พิเศษที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ อีกด้วย<ref>[https://issuu.com/psuppak/docs/___________________________________ ประวัติฯ งานหลักสูตร บทวิพากษ์ (official use) updated at 290656], Website:Issuu .สืบค้นเมื่อ 21/12/2562</ref>
== ผลงาน ==
 
== ผลงานออกแบบและผลงานวิจัย ==
นับว่าเป็นภูมิสถาปนิกคนของแรกของประเทศไทย ที่เชี่ยวชาญเรื่องภูมิสถาปัตยกรรมเชิงนิเวศ มีผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับภูมิทัศน์นิเวศวิทยา เช่น Understanding Bangkok's 1890 Urban Patterns: A Historical GIS Method,
Urban-Rural Sustainability ทุน Integrated Research System for Sustainable Science (IR3S), The University of Tokyo,
PACIFIC RIM CITIES: CLIMATE CHANGE MITIGATION AND ADAPTATION STRATEGIES (CMAS): Resilience and Adaptability and Climate Change: The New Realm of Urban Ecology and Urbanization and Landscape Changes: the Chao Phraya river delta and the city of Bangkok, Thailand.
 
และมีผลงานวางผังและออกแบบ เช่น งานวางผังและออกแบบ ผังแม่บทการฟื้นฟูที่ดินเหมืองแร่ในจังหวัดภูเก็ตเป็นสวนสาธารณะ (2530), งานวางผังและออกแบบ การจัดทำผังแม่บทและออกแบบรายละเอียดโครงการปรับปรุงพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่ทองคำ ตำบลบ่อทอง อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (2546) ,งานวางผังและออกแบบ ผังปรับปรุงพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่แล้วเพื่อการพักผ่อน ตำบลหงาว อำเภอเมือง จังหวัดระนอง (2546) ,งานวางผังและออกแบบ ภูมิทัศน์ลานหน้าอาคารคณะศิลปกรรมศาสตร์และอาคารบรมราชกุมารี (2549)<ref>[http://www.land.arch.chula.ac.th/popup_cv/cv_en.php?id=10] Danai Thaitakoo]</ref>
 
และมีผลงานวางผังและออกแบบ เช่น งานวางผังและออกแบบ ผังแม่บทการฟื้นฟูที่ดินเหมืองแร่ในจังหวัดภูเก็ตเป็นสวนสาธารณะ (2530), งานวางผังและออกแบบ การจัดทำผังแม่บทและออกแบบรายละเอียดโครงการปรับปรุงพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่ทองคำ ตำบลบ่อทอง อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (2546) ,งานวางผังและออกแบบ ผังปรับปรุงพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่แล้วเพื่อการพักผ่อน ตำบลหงาว อำเภอเมือง จังหวัดระนอง (2546) ,งานวางผังและออกแบบ ภูมิทัศน์ลานหน้าอาคารคณะศิลปกรรมศาสตร์และอาคารบรมราชกุมารี (2549)<ref>[http://www.land.arch.chula.ac.th/popup_cv/cv_en.php?id=10] </ref>
 
== อ้างอิง ==