ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมชัย ศรีสุทธิยากร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
บอต: แทนที่หมวดหมู่ สมาชิกเหรียญจักรพรรดิมาลา ด้วย ผู้ได้รับเหรียญจักรพรรดิมาลา
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
}}
 
[[รองศาสตราจารย์]] '''สมชัย ศรีสุทธิยากร''' (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นอดีตสมาชิก[[พรรคประชาธิปัตย์]]แบบตลอดชีพนักวิชาการชาวไทย อดีตข้าราชการบำนาญ[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] (มธ.) และอดีต[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)|กรรมการการเลือกตั้ง]] (กกต.) ด้านกิจการบริหารจัดการเลือกตั้ง<ref>[http://www.posttoday.com/การเมือง/253158/เลือกสมชัย-บุญส่ง-ประวิชนั่งกกต เลือกสมชัย-บุญส่ง-ประวิชนั่งกกต. โดย ทีมข่าวโพสต์ทูเดย์ 15 ตุลาคม 2556 เวลา 14:20 น.] สืบค้นวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557</ref> และ อดีตสมาชิก[[พรรคประชาธิปัตย์]]
 
สมชัยถูกถอดจากตำแหน่ง กกต. ด้วยคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2561
 
== ประวัติ ==
เส้น 68 ⟶ 66:
 
พ.ศ. 2545 หัวหน้าทีมที่ปรึกษาด้านมวลชนสัมพันธ์  โครงการเส้นทางลัดสู่ภาคใต้ (แหลมผักเบี้ย) โดยจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชนใน 4 จังหวัด คือ นครปฐม สมุทรสาคร  สมุทรสงคราม และเพชรบุรี จำนวน 60 เวที
 
พ.ศ. 2561 สมชัยถูกถอดจากตำแหน่ง กกต. ด้วยคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2561
 
== ความเห็นทางการเมือง ==
บรรทัด 78:
สมชัยกล่าวต่ออีกว่า ส่วนมาตรา 56 ของร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. … ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบด้วยกฎหมาย กระทำการใด ๆ เพื่อเป็นการให้คุณหรือเป็นโทษแก่ผู้สมัครหรือพรรคการเมือง กรณีนี้ คสช. ไม่ได้มีสถานะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ไม่ใช่ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว หรือพนักงานของรัฐ) แต่ คสช. สามารถใช้อำนาจหน้าที่ผ่านเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ดังนั้น จึงจำเป็นต้องระมัดระวังอย่างยิ่งในการใช้อำนาจดังกล่าวที่อาจเป็นคุณหรือโทษแก่ผู้สมัครหรือพรรคการเมือง และมาตรา 169 (4) ของรัฐธรรมนูญ กำหนดว่า คณะรัฐมนตรีต้องไม่ใช้ทรัพยากรของรัฐหรือบุคลากรของรัฐเพื่อกระทำการใดอันอาจมีผลต่อการเลือกตั้ง กรณีนี้เป็นการบังคับในช่วงที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้มีการเลือกตั้ง ดังนั้น คสช. ที่ดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีจำเป็นต้องระมัดระวังอย่างยิ่งในการดำเนินการใด ๆ ที่อาจมีผลต่อการเลือกตั้ง<ref>[https://www.prachachat.net/politics/news-70387]</ref>
 
ต่อมานาย สมชัยได้โพสต์เฟซบุ๊กส่วนตัวว่าได้เตรียมเข้าไปสมัครเป็นสมาชิก [[พรรคประชาธิปัตย์]] ณ ที่ทำการพรรคประชาธิปัตย์ ในวันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เวลา 14.00 น. และใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562]]ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสมุทรสาคร ในนามพรรคประชาธิปัตย์ แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง
 
ในวันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เวลา 19.30 น. ก่อนวันประชุมร่วมกันของรัฐสภาเพื่อลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ประกาศเข้าร่วมรัฐบาลกับ[[พรรคพลังประชารัฐ]] และมีมติสนับสนุนพลเอก[[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกสมัย นายสมชัย ศรีสุทธิยากรได้โพสต์เฟสบุ๊กส่วนตัว ประกาศลาออกจากสมาชิกพรรค โดยกล่าวว่า
 
{{คำพูด|ขอบคุณ [[พรรคประชาธิปัตย์]] ที่เคยให้โอกาสลงรับสมัครเลือกตั้ง และให้การสนับสนุนต่างๆ ทำให้มีประสบการณ์ที่ไม่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ง่าย แต่เมื่อแนวทางอุดมการณ์ที่แตกต่างกัน คงขออนุญาตที่จะลาออกจากสมาชิกพรรคครับ}}
บรรทัด 101:
[[หมวดหมู่:บุคคลจากคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:พรรคประชาธิปัตย์]]
[[หมวดหมู่:กรรมการการเลือกตั้งไทย]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.]]