ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาวิจารณ์จักรกิจ (บุญรอด สวาทะสุข)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Venomous Sniper (คุย | ส่วนร่วม)
remove "red" file
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{issues|สั้นมาก=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
'''พลเรือตรี '''พระยาวิจารณ์จักรกิจ''' หรือนามเดิม '''บุญรอด สวาทะสุข''' เป็นต้นสกุล "สวาทะสุข" ได้รับพระราชทานนามสกุลจาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เมื่อวันที่ [[21 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2457|พุทธศักราช 2457]] ประกาศครั้งที่ 23 ก่อนได้รับพระราชทานนามสกุลสวาทะสุข เดิมสกุลทองเอม มีพี่น้องรวม 8 คน เคยดำรงตำแหน่งทางการเมืองในคณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 และ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 7 ในสมัยของ[[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] และยังดำรงตำแหน่งเป็นผู้รักษาราชการตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือ (2 พฤษภาคม 2477 - 9 พฤษภาคม 2481) และ[[ผู้บัญชาการทหารเรือ]] (10 พฤษภาคม 2481 - 23 ตุลาคม 2481) โดยเมื่อขณะที่ศึกษาอยู่ ณ [[โรงเรียนนายเรือ]]ในช่วงเดือนตุลาคม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) กรมทหารเรือได้สั่งให้กรมยุทธศึกษาทหารเรือคัดเลือกนักเรียนนายเรือ 7 นาย เพื่อจะส่งไปศึกษาวิชาการทหารเรือ ณ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่ง นายบุญรอด (ต่อมาเป็นพลเรือตรี พระยาวิจารณ์จักรกิจ) เป็น 1 ใน 7 นักเรียนนายเรือที่ได้รับคัดเลือกในสมัยนั้นด้วย พลเรือตรี พระยาวิจารณ์จักรกิจ เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งโรงเรียนอาชีพช่างกล หรือ[[สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน]]ในปัจจุบัน
(2 พฤษภาคม 2477 - 9 พฤษภาคม 2481) และ[[ผู้บัญชาการทหารเรือ]] (10 พฤษภาคม 2481 - 23 ตุลาคม 2481) โดยเมื่อขณะที่ศึกษาอยู่ ณ [[โรงเรียนนายเรือ]]ในช่วงเดือนตุลาคม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) กรมทหารเรือได้สั่งให้กรมยุทธศึกษาทหารเรือคัดเลือกนักเรียนนายเรือ 7 นาย เพื่อจะส่งไปศึกษาวิชาการทหารเรือ ณ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่ง นายบุญรอด (ต่อมาเป็นพลเรือตรี พระยาวิจารณ์จักรกิจ) เป็น 1ใน7 นักเรียนนายเรือที่ได้รับคัดเลือกในสมัยนั้นด้วย พลเรือตรี พระยาวิจารณ์จักรกิจ เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งโรงเรียนอาชีพช่างกล หรือ[[สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน]]ในปัจจุบัน
 
== อ้างอิง ==