ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
→‎พระโอรสธิดาในสมรส: จัดภาพประกอบไว้ทางขวา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23:
'''พระเจ้าเฮนรีที่ 1<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน'', 2550, หน้า 243</ref> แห่งอังกฤษ''' ({{lang-en|Henry I of England}}) (ราว [[ค.ศ. 1068]]/[[ค.ศ. 1069]] – [[1 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1135]]) เป็นพระเจ้าแผ่นดินของ[[ราชอาณาจักรอังกฤษ]]ใน[[ราชวงศ์นอร์มัน]]
 
พระเจ้าเฮนรีที่ 1 เสด็จพระราชสมภพราว [[ค.ศ. 1068]]/[[ค.ศ. 1069]] ที่เซลบี ใน[[ยอร์กเชอร์]] ใน[[ประเทศอังกฤษ]] เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สี่ใน[[พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ]]และ[[มาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|พระนางมาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส]] เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกของพระเจ้าวิลเลียมที่เกิดหลังจากทรงได้รับ[[การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน|ชัยชนะในการรุกรานอังกฤษ]] และทรงราชย์หลังจาก[[พระเจ้าวิลเลียมที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าวิลเลียมที่ 2]] พระเชษฐาธิราชระหว่างวันที่ [[3 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1100]] จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ [[1 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1135]] ที่ลียง ลา ฟอเรสต์, นอร์ม็องดี [[ประเทศฝรั่งเศส]] ในปี ค.ศ. 1106 ทรงได้รับชัยชนะต่อพระเชษฐา[[โรเบิร์ตรอเบิร์ตที่ เคอร์โทส2 ดยุกแห่งนอร์มังดี|รอเบิร์ต เคอร์ทโฮส]] ดยุกแห่งนอร์ม็องดีในการเป็นดยุกแห่งนอร์ม็องดี ทรงได้รับพระนามว่า “Beauclerc” เพราะทรงมีความสนพระทัยใน “Lion of Justice” ซึ่งเป็นสิ่งที่ทรงนำมาปรับปรุงการบริหารและการออกกฎหมายในรัชสมัยของพระองค์ พระเจ้าวิลเลียมเฮนรีที่ 21 อภิเษกสมรสสองครั้ง ครั้งแรกกับ[[มาทิลดาแห่งสกอตแลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|พระนางมาทิลดาแห่งสกอตแลนด์]] และครั้งที่สองกับ[[อเดลีซาแห่งลูแว็ง สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|พระนางอเดลีซาแห่งลูแว็ง]]
 
รัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 1 ตอนต้นเต็มไปด้วยการฉกฉวยโอกาสทางการเมือง สิทธิในการครองราชสมบัติได้รับการอนุมัติเมื่อ[[โรเบิร์ตรอเบิร์ตที่ เคอร์โทส2 ดยุกแห่งนอร์มังดี|รอเบิร์ต เคอร์ทโฮส]] พระเชษฐาเดินทางไปทำ[[สงครามครูเสดครั้งที่ 1]] ระหว่างต้นรัชสมัยทรงใช้เวลาในการควบคุมการปกครองของอังกฤษและนอร์มังดี ทรงมีความสำเร็จในการรวมอังกฤษและนอร์ม็องดีอีกครั้งหนึ่งหลังจากที่ถูกแยกกันหลังจากการสวรรคตของพระราชบิดาเมื่อปี [[ค.ศ. 1087]] หลังจากที่ขึ้นครองราชสมบัติก็พระราชทาน [[:en:Charter of Liberties|Charter of Liberties]] แก่ขุนนางซึ่งเป็นรากฐานของการท้าทายอำนาจของพระมหากษัตริย์และเป็นที่มาของ[[มหากฎบัตร]]ซึ่งเป็นกฎบัตรที่บังคับให้พระมหากษัตริย์ต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย
 
ระยะหลังของรัชสมัยเป็นเรื่องเกี่ยวกับการปฏิรูปทางกฎหมายและการเศรษฐกิจ ทรงจัดให้มีการประชุมการเก็บภาษีสองครั้งต่อปีเพื่อจะปฏิรูประบบการคลัง ทรงใช้เจ้าหน้าที่ในการควบคุมการใช้อำนาจในทางมิชอบทั้งในท้องถิ่นและเขต ความแตกต่างระหว่างชาวอังกฤษและชาวนอร์มันเริ่มจะเลือนไปบ้าง พระเจ้าเฮนรีเองก็ทรงเสกสมรสกับธิดาของเจ้านายอังกฤษเดิม นอกจากนั้นก็ทรงพยายามสร้างสันติภาพกับสถาบันศาสนาหลังจากที่เป็นปัญหาในรัชสมัยของพระเชษฐา แต่ปัญหาหนึ่งที่ไม่ทรงแก้ได้คือปัญหาเรื่องการสืบราชสมบัติหลังจากการสิ้นพระชนม์ของ[[วิลเลียม อเดลิน]]พระราชโอรสเมื่อ “เรือขาว” (White Ship) ล่ม ทรงระบุให้[[จักรพรรดินีมาทิลดา|เจ้าหญิงมาทิลดา]] พระราชธิดาเป็นรัชทายาท แต่หลังจากเสด็จสวรรคตก็เกิด[[สงครามกลางเมือง]]ที่เรียกว่า[[สงครามสิบเก้าฤดูหนาว]] (The Anarchy หรือ The Nineteen Year Winter) ระหว่างปี [[ค.ศ. 1135]] ถึงปี [[ค.ศ. 1154]]