ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พอดแคสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[File:Serial Podcast.jpg|thumb|โทรศัพท์[[ไอโฟน]]ที่กำลังเล่นพอดแคสต์ ''[[Serial (podcast)|Serial]]'' ผ่านแอป Pocket Casts|alt=]]
'''พอดแคสต์''' หรือ '''พอดคาสต์''' ({{lang-en|podcast}} <small>อเมริกัน</small> {{IPAc-en||ˈ|p|ɑ|ː|d|.|k|æ|s|t}} <small>บริติช</small> {{IPAc-en|ˈ|p|ɒ|d|.|k|ɑ|ː|s|t}}<ref>[https://dictionary.cambridge.org/dictionary/english/podcast Cambridge English Dictionary (สืบค้นคำว่า podcast)]</ref>) คือ ชุดตอนของ[[คอมพิวเตอร์ไฟล์|ไฟล์]][[ออดิโอดิจิทัล|ออดิโอ]][[สื่อดิจิทัล|ดิจิทัล]]ซึ่งสามารถ[[ดาวน์โหลด]]ได้จาก[[อินเทอร์เน็ต]] ในอีกทางหนึ่งคำว่า "พอดแคสต์" ยังสามารถหมายถึงไฟล์ชนิดดังกล่าวแบบเป็นตอน ๆ ซึ่งจะได้รับโดยอัตโนมัติเมื่อเป็นสมาชิกในเครือข่ายนั้น ๆ <ref>
เส้น 6 ⟶ 5:
 
การทำพอดแคสต์ ({{lang-en|podcasting}}) มักเป็นรูปแบบของการสมัครสมาชิกผ่านเว็บไซต์ที่เผยแพร่พอดแคสต์นั้น ๆ โดยเมื่อมีพอดแคสต์ตอนใหม่ปล่อยออกมา สมาชิกจะสามารถ[[ดาวน์โหลด]]พอดแคสต์นั้นได้อัตโนมัติผ่านคอมพิวเตอร์ แอปพลิเคชัน หรือ[[เครื่องเล่นสื่อแบบพกพา]]<ref>{{cite web |url= https://www.merriam-webster.com/dictionary/podcast |title= Definition of Podcast |website= [[Merriam-Webster]] |accessdate= November 15, 2017}}</ref>
[[File:Podcasting-wcwc.jpg|thumb|สตูดิโอพอดแคสต์ใน What Cheer Writers Club ในเมือง[[พรอวิเดนซ์]] [[รัฐโรดไอแลนด์]]]]
พอดแคสต์เป็นรูปแบบของไฟล์เสียง แต่บางทีก็อาจเป็นไฟล์รูปแบบอื่นได้ เช่น [[พีดีเอฟ]] หรือ [[อีพับ]] เป็นต้น ส่วนการเผยแพร่วิดีโอโดยใช้รูปแบบของพอดแคสต์มักเรียกว่า [[พอดแคสต์#พอดแคสต์วิดีโอ|พอดแคสต์วิดีโอ]] (video podcasts) วอดแคสต์ว็อดแคสต์ (vodcast) หรือ[[วล็อก]] (vlog)
 
ผู้จัดทำพอดแคสต์จะเก็บไฟล์นั้นเป็นรายการไว้ใน[[เซิร์ฟเวอร์]]ในลักษณะของ[[เว็บฟีด]]ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ผ่าน[[อินเทอร์เน็ต]] โดยผู้ใช้จะต้องใช้[[ซอฟต์แวร์]][[ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชัน|แอปพลิเคชัน]][[ไคลเอนต์]]บนคอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่นสื่อที่เรียกว่า พอดแคตเชอร์ (podcatcher) เพื่อใช้เข้าถึงเว็บฟีดและดาวน์โหลดไฟล์ใหม่ ๆ ของพอดแคสต์ชุดนั้น กระบวนการนี้จะเป็นการดาวน์โหลดไฟล์ใหม่โดยอัตโนมัติ ฉะนั้นผู้ใช้จะเห็นราวกับว่าผู้จัดทำออกอากาศหรือ [[เทคโนโลยีพุช|"ส่ง"]] ตอนใหม่ ๆ ไปให้พวกเขา เมื่อดาวน์โหลดไปแล้ว ไฟล์จะถูกจัดเก็บไว้ในอุปกรณ์ของผู้ใช้และเตรียมพร้อมให้ใช้งานในโหมด[[ออนไลน์และออฟไลน์|ออฟไลน์]]ต่อไป<ref>{{cite web |url= http://isites.harvard.edu/icb/icb.do?keyword=k1967&pageid=icb.page23750 |title= Podcast Production |website= [[Harvard Graduate School of Education]] |archive-url= https://archive.is/20120710232048/http://isites.harvard.edu/icb/icb.do?keyword=k1967&pageid=icb.page23750 |url-status= dead |archive-date= July 10, 2012 |quote= ...&nbsp;This code enables specially designed software to locate and track new versions or episodes of a particular podcast&nbsp;... }}</ref> มีแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือมากมายที่ให้ผู้คนสามารถสมัครสมาชิกเพื่อที่จะฟังพอดแคสต์ โดยแอปพลิเคชันส่วนใหญ่เหล่านี้จะให้ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดหรือจัดทำพอดแคสต์ด้วยตัวเขาเองได้
พอดแคสต์เป็นรูปแบบของไฟล์เสียง แต่บางทีก็อาจเป็นไฟล์รูปแบบอื่นได้ เช่น [[พีดีเอฟ]] หรือ [[อีพับ]] เป็นต้น ส่วนการเผยแพร่วิดีโอโดยใช้รูปแบบของพอดแคสต์มักเรียกว่า [[พอดแคสต์#พอดแคสต์วิดีโอ|พอดแคสต์วิดีโอ]] (video podcasts) วอดแคสต์ (vodcast) หรือ[[วล็อก]] (vlog)
 
== ที่มาของชื่อ ==
== ชื่อพอดแคสติง ==
ที่มาของชื่อ "พอดแคสติง" นั้น มีการอ้างไว้หลายแหล่งต่าง ๆ กัน เช่น
* พอดแคสติง (Podcasting) เป็น[[คำผสม]]ของ [[ไอพอด]] (iPod - เครื่องเล่นเพลงขนาดพกพา) กับ บรอดแคสติง (Broadcasting - การแพร่สัญญาณ) ทั้งนี้มักจะเข้าใจกันผิดว่า การรับพอดแคสติงต้องใช้ไอพอดเสมอ ซึ่งไม่จำเป็น อย่างไรก็ตาม [[สตีฟ จ็อบส์]]เจ้าของบริษัทแอปเปิลผู้ผลิตไอพอด ก็ใช้โอกาสนี้ โฆษณาลูกเล่นใหม่ของไอพอดว่า Podcasting (มาจากคำว่า Broadcasting รวมกับ iPod )
* POD เป็นคำย่อจาก "Personal On-Demand" เมื่อรวมกับ Broadcasting ก็กลายเป็น PODcasting หมายถึงการแพร่สัญญาณส่วนบุคคลตามสะดวก
* POD ย่อมาจาก Point of Distributed หมายถึง จุดกระจายสัญญาณ หรึอ
* POD ย่อมาจาก Personal Option Digital
 
"podcast" เป็นคำผสมระหว่าง "[[iPod]]" และ "[[การออกอากาศ|broadcast]]" ''(การออกอากาศ)''<ref name=oxford>{{cite web |url= https://en.oxforddictionaries.com/definition/podcast |title= Definition of podcast in English |website= [[OxfordDictionaries.com]] |accessdate= November 15, 2017}}</ref> ทั้งนี้คำว่า "พอดแคสต์" เป็นชื่อที่ใช้เรียกเทคโนโลยีที่กำลังเกิดขึ้นในเวลานั้น ซึ่งถูกเสนอขึ้นโดยคอลัมนิสต์''[[เดอะการ์เดียน]]''และนักข่าว[[บีบีซี]] [[เบน แอมเมอร์สลีย์]] (Ben Hammersley)<ref>{{cite web |url=https://www.theguardian.com/media/2004/feb/12/broadcasting.digitalmedia |title=Why online radio is booming |last=Hammersley |first=Ben |authorlink=Ben Hammersley |date=February 12, 2004 |website=[[The Guardian]] |accessdate=November 16, 2017}}</ref> เหตุเกิดขึ้นในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ขณะที่กำลัง "เพิ่มเติมเนื้อหาให้ชัดเจนขึ้น" ในบทความของหนังสือพิมพ์''เดอะการ์เดียน''<ref name=padding>{{cite web |url= http://www.bbc.co.uk/programmes/p038m811|title= The man who accidentally invented the word 'podcast' |last= Sawyer |first= Miranda |authorlink= Miranda Sawyer |date= November 20, 2015 |website= [[BBC Radio 4]] |accessdate= November 15, 2017|format= MP3}}</ref> ทำให้คำนี้ถูกใช้ครั้งแรกในชุมชนบล็อกออดิโอ (audioblogging community) ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 เมื่อแดนนี กรีกอยร์ (Danny Gregoire) ใช้คำนี้ลงไปในข้อความที่ส่งไปหาผู้พัฒนาำอพอด<ref>{{cite web |url=http://groups.yahoo.com/group/ipodder-dev/message/41 |title=ipodder-dev : Message: How to handle getting past episodes? |website=[[Yahoo Groups]] |url-status=dead |archiveurl=https://web.archive.org/web/20130413074906/http://groups.yahoo.com/group/ipodder-dev/message/41 |archivedate=2013-04-13 }}</ref> จากจุดนี้จึงถูกนำไปใช้ต่อโดย [[อดัม เคอร์รี]]<ref>{{cite book |last=Levy |first=Steven |date=2006 |title=The Perfect Thing |url=https://books.google.co.uk/books?id=YZfetA8UfE8C |publisher=Simon & Schuster |page=239 |isbn=978-0-7432-8522-3}}</ref> ถึงแม้ต้นกำเนิดของคำนี้มาจากไอแพด แต่ผู้ใช้ก็สามารถเข้าถึงพอดแคสต์ได้โดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่สามารถเล่นไฟล์สื่อได้ อีกทั้งคำว่า "พอดแคสต์" ยังเคยใช้ทำนายถึงการสนับสนุนพอดแคสต์ของ''แอปเปิล''อย่างจริง ๆ จัง ๆ ลงในไอพอด หรือที่ต่อมารู้จักกันในชื่อ[[ไอทูนส์]]<ref>{{cite web |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/technology/4631051.stm |title=Apple brings podcasts into iTunes |date=June 28, 2005 |website=[[BBC News]] |accessdate=November 15, 2017}}</ref>
== การทำงาน ==
ตัวพอดแคสติงนั้นทำตัวเป็นสื่อกลางระหว่างตัวสื่อกับผู้ใช้งานอีกทีหนึ่ง ระบบพอดแคสติงนั้นทำงานโดยใช้ [[RSS]] 2.0 หรือ [[RDF]] เพื่อเก็บคำอธิบายสื่อในรูปแบบ [[XML]] ซึ่งเป็นมาตรฐานไฟล์ข้อมูลแบบเปิด
การทำงานของพอดแคสติงมีขั้นตอนคือ ผู้ใช้เรียก [[URL]] ของพอดแคสติงในซอฟต์แวร์รับพอดแคสติง (Podcasting Reader หรือ RSS Reader) เพื่อดูดัชนีหรือสารบัญของพอดแคสติง โดยตัวรับจะอ่านคำอธิบายสื่อจาก URL ดังกล่าว ซึ่งจะมีรายละเอียดเช่น ชื่อรายการ ชื่อผู้จัดทำ วันที่จัดทำ ฯลฯ และแสดงให้ผู้ใช้ดู จากนั้นผู้ใช้จะเลือกสื่อชิ้นที่ต้องการ เมื่อผู้ใช้ได้ร้องขอสื่อ ตัวรับก็จะทำการดาวน์โหลดสื่อจากต้นทางมาไว้ที่เครื่องของผู้ใช้
 
อีกชื่ออื่นที่ใช้เรียกพอดแคสต์ คือ "เน็ตแคสต์" (net cast) ซึ่งเป็นความตั้งใจที่จะทำให้คำนี้เป็นกลางโดยไม่มีการอ้างถึงไอพอดของ''แอปเปิล'' โดยชื่อนี้ถูกใช้ในเครือข่ายของ [[TWiT.tv]]<ref>{{cite web |url=http://wiki.twit.tv/wiki/FAQ |title=FAQ - The Official TWiT Wiki |website=[[TWiT.tv]] |accessdate=November 15, 2017}}</ref> นอกจากนี้ยังมีบางแหล่งข้อมูลอื่นอ้างว่า "POD" ย่อมาจากคำว่า "portable on demand" ''(ความต้องการที่พกพาได้)'' ด้วยเหตุผลที่คล้ายคลึงกับกรณีเน็ตแคสต์<ref>{{cite web |url=http://windows.microsoft.com/en-au/windows-vista/create-your-own-podcast-what-you-need-to-know-to-be-a-podcaster |title=Create your own podcast: What you need to know to be a podcaster |website=[[Microsoft Windows]] |url-status=dead |archiveurl=https://web.archive.org/web/20151225095312/http://windows.microsoft.com/en-au/windows-vista/create-your-own-podcast-what-you-need-to-know-to-be-a-podcaster |archivedate=2015-12-25 }}</ref>
รูปแบบไฟล์ที่นิยมใช้ในการจัดเก็บและเผยแพร่พอดแคสติงมากที่สุดคือ [[MP3]] ตามด้วย [[AAC]] โดยมี [[bit rate]] ที่ 32 [[kbps]] ขึ้นไป
 
== ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้งานพอดแคสติง ==
* [[ไอทูนส์]] iTunes
* iPodder
* spotify
*JOOX
 
== อ้างอิง ==
เส้น 33 ⟶ 20:
 
[[หมวดหมู่:พอดแคสต์]]
[[หมวดหมู่:เสียงดิจิทัล]]
[[หมวดหมู่:รูปแบบสื่อ]]
[[หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์ของสหราชอาณาจักร]]
{{โครง}}