ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบสุริยะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ
Sian54 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8626090 โดย Potaptด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 98:
ภายในช่วงเวลา 50 ล้านปี ความดันและความหนาแน่นของไฮโดรเจนที่ใจกลางของดาวฤกษ์ก่อนเกิดก็มีมากพอจะทำให้เกิดปฏิกิริยา[[การหลอมนิวเคลียส]]ขึ้นได้<ref name="Yi2001">{{cite journal | author= Sukyoung Yi; Pierre Demarque; Yong-Cheol Kim; Young-Wook Lee; Chang H. Ree; Thibault Lejeune; Sydney Barnes | title=Toward Better Age Estimates for Stellar Populations: The <math>Y^{2}</math> Isochrones for Solar Mixture | journal=Astrophysical Journal Supplement | year=2001 | volume=136 | pages=417 | doi=10.1086/321795 | url=http://adsabs.harvard.edu/abs/2001ApJS..136..417Y}} arXiv [http://arxiv.org/abs/astro-ph/0104292 astro-ph/0104292]</ref> ทั้งอุณหภูมิ อัตราการเกิดปฏิกิริยา ความดัน ตลอดจนความหนาแน่นต่างเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึง[[สภาวะสมดุลอุทกสถิต]] โดยมีพลังงานความร้อนที่มากพอจะต้านทานกับการหดตัวของแรงโน้มถ่วงได้ ณ จุดนี้ดวงอาทิตย์จึงได้วิวัฒนาการเข้าสู่[[แถบลำดับหลัก]]อย่างสมบูรณ์<ref>{{cite journal | author=A. Chrysostomou, P. W. Lucas | title=The Formation of Stars | journal=Contemporary Physics | year=2005 | volume=46 | pages=29 | url=http://adsabs.harvard.edu/abs/2005ConPh..46...29C | doi=10.1080/0010751042000275277}}</ref>
 
[[ไฟล์:redgiantsun.gif|thumb|left|ภาพวาดโดยศิลปินแสดงให้เห็นวิวัฒนาการของดวงอาทิตย์<br />ซ้าย: ดวงอาทิตย์ของเราในปัจจุบันซึ่งอยู่ในแถบลำดับหลัก<br />กลาง: ดาวยักษ์แดง<br />ขวา: ดาวแคระขาว]]
ระบบสุริยะจะดำรงสภาพอย่างที่เรารู้จักกันในปัจจุบันนี้ไปตราบจนกระทั่งดวงอาทิตย์ได้วิวัฒนาการจนออกพ้นจากแถบลำดับหลักบน[[ไดอะแกรมของเฮิร์ตสปรัง-รัสเซลล์]] เมื่อดวงอาทิตย์เผาผลาญเชื้อเพลิงไฮโดรเจนภายในไปเรื่อย ๆ พลังงานที่คอยค้ำจุนแกนกลางของดาวอยู่ก็จะลดน้อยถอยลง ทำให้มันหดตัวและแตกสลายลงไป การหดตัวจะทำให้แรงดันความร้อนในแกนกลางเพิ่มมากขึ้น และทำให้มันยิ่งเผาผลาญเชื้อเพลิงเร็วขึ้น ผลที่เกิดคือดวงอาทิตย์จะส่องสว่างมากยิ่งขึ้นโดยมีอัตราเพิ่มขึ้นประมาณ 10% ในทุก ๆ 1,100 ล้านปี<ref>{{cite web|title=Science: Fiery future for planet Earth |author=Jeff Hecht |work=NewScientist |url=http://www.newscientist.com/article/mg14219191.900.html |year=1994 |accessdate=2007-10-29}}</ref>