ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุคเฮอัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33:
== ศาสนา ==
 
ในยุคเฮอังพุทธศาสนานิกาย[[วัชรยาน]]จากจีนราชวงศ์ถังเผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศญี่ปุ่น แต่เดิมพุทธศาสนาในญี่ปุ่นถูกปกครองโดยพุทธศาสนาหกสำนักแห่งเมืองนาระ (Six schools of Nara) ซึ่งเน้นการคิดวิเคราะห์และศึกษาพระธรรมมากกว่าการปฏิบัติ คณะสงฆ์เมืองนาระมีอำนาจมากทั้งในทางศาสนาและทางโลก ทำให้พระจักรพรรดิคัมมูมีพระประสงค์จะหลีกเลี่ยงอิทธิพลของคณะสงฆ์เมืองนาระ ราชสำนักญี่ปุ่นในยุคเฮอังจึงให้การสนับสนุนแก่พุทธศาสนานิกายวัชรยานใหม่ซึ่งมาจากประเทศจีนเพื่อคานอำนาจกันกับคณะสงฆ์เมืองนาระ ประกอบด้วยนิกาย''ชิงงน'' ({{ญี่ปุ่น|真言|Shingon}}) และนิกาย''เท็งได'' ({{ญี่ปุ่น|天台|Tendai}})
แม้ชาวญี่ปุ่นจะนับถือลิทธิชินโตมาแต่ดั้งเดิม แต่ก็รับศาสนาพุทธเข้ามาด้วยจากการรับวัฒนธรรมจากประเทศจีน และแพร่หลายไปทั่วญี่ปุ่นในยุคเฮอัง โดยแบ่งเป็น 2 ลิทธิใหญ่ๆคือ นิกายเท็นได และ ชินงน
 
=== นิกายเท็งไดและนิกายชิงงน ===
''นิกายเท็นได '' เป็นพุทธนิกายแบบมหายานที่รับมาโดยตรงจากประเทศจีน นับถือ[[สัทธรรมปุณฑรีกสูตร]][http://www.lizadalby.com/LD/TofM_lotus.html] (Lotus Sutra) เป็นพระสูตรสำคัญ ส่วน''นิกายชินงน '' เป็นพุทธนิกายที่มีรากฐานจากพุทธศาสนาแบบตันตระในประเทศอินเดียและทิเบต ก่อตั้งโดยพระคูไก
ในค.ศ. 804 พระภิกษุญี่ปุ่นสองรูปได้แก่ พระภิกษุไซโช ({{ญี่ปุ่น|最澄|Saichō}}) และพระภิกษูคูไก ({{ญี่ปุ่น|空海|Kūkai}}) ลงเรือไปกับคณะฑูตเดินทางไปยังประเทศจีนยุคราชวงศ์ถังเพื่อศึกษาพุทธศาสนา ภิกษุไซโชเดินทางไปศึกษาที่เขาเทียนไถในขณะที่ภิกษุคูไกเดินทางไปศึกษาพุทธศาสนาวัชรยานที่เมือง[[ฉางอัน]] บนเขาเทียนไถพระภิกษุไซโชศึกษาพุทธศาสนานิกายมหายาน[[เทียนไถ]]ซึ่งให้ความสำคัญแก่การศึกษา[[สัทธรรมปุณฑริกสูตร]] (Lotus Sutra) เป็นสำคัญ ในขณะที่ภิกษุคูไกศึกษาหลักการของพุทธศาสนาวัชรยานตันตระ หรือพุทธศาสนาคุยหยาน (Esoteric Buddhism) ในแบบราชวงศ์ถังเรียกว่า''ถังมี่'' ({{Zh-all|c=唐密|t=|s=|p=Tángmì|w=|j=}}) หรือภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า ''มิกเกียว'' ({{ญี่ปุ่น|密教|Mikkyō}}) ซึ่งเน้นในเรื่องการปฏิบัติและพิธีกรรมเพื่อการบรรลุโพธิจิต หลักการปฏิบัติและพิธีกรรมของวัชรยานนั้นเป็นความลับไม่เปิดเผยแก่คนทั่วไป พระสงฆ์ผู้ซึ่งได้รับการ "อภิเษก" เข้าสู่พุทธศาสนาวัชรยานแล้วเท่านั้นจึงสามารถเข้าถึงหลักคำสอนของวัชรยานได้ ภิกษุคูไกเล่าเรียนกับภิกษุชาวจีนและได้รับการอภิเษกเข้าสู่พิธีกรรมของวัชรยาน
 
== สถาปัตยกรรม ==