ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พลังพล คงเสรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Athikhun.suw (คุย | ส่วนร่วม)
No space before citation
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Athikhun.suw (คุย | ส่วนร่วม)
two citations
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Palangpon-Kongsaeree-2019.jpg|alt=|thumb|239x239px|รศ.ดร. พลังพล คงเสรี]]
'''รองศาสตราจารย์ พลังพล คงเสรี''' คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (1 ธันวาคม 2562-)<ref>{{Cite web|url=https://science.mahidol.ac.th/th/admin_board.php|title=คณะผู้บริหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล|website=Faculty of Science|access-date=2019-12-10}}</ref> จบการศึกษาระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยคอร์แนล ทางด้านเคมีและ Protein X-ray Crystallography สนใจศึกษากลไกการทำงานของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ออกแบบตัวตรวจวัดทางเคมีที่มีความจำเพาะสูง นำไปสู่การพัฒนาชุดทดสอบต่างๆ และมีการนำไปใช้จริง[https://science.mahidol.ac.th/th/admin_board.php] สมรสกับ ดร.ประชุมพร (ทุนกุล) คงเสรี มีบุตรชาย 2 คน
 
== ประวัติการศึกษา ==
บรรทัด 6:
รศ.ดร.พลังพล คงเสรี จบการศึกษาระดับมัธยมต้นที่[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]]ในปี พ.ศ. 2528 โดยมีผลการเรียนดีเยี่ยมตลอดการศึกษา {{อ้างอิง}}จากนั้นสอบได้รับทุนจากโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) จึงย้ายไปเรียนต่อระดับมัธยมปลายที่[[โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย]]ซึ่งเป็น 1 ใน 6 ศูนย์โครงการ พสวท. ในสมัยนั้น{{อ้างอิง}}} ระหว่างการศึกษาระดับมัธยม ได้เป็นตัวแทนโรงเรียนร่วมแข่งขันทางวิชาการและได้รับรางวัลชนะเลิศมากมาย {{อ้างอิง}เช่น การตอบปัญหาเกี่ยวกับองค์การสหประชาชาติ การตอบปัญหาทางนิเทศศาสตร์ ของ[[คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] การตอบปัญหาวิชาการที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] การตอบปัญหาทางพุทธศาสนา และการแข่งขันภาษาไทยเกี่ยวกับคำผวนเป็นต้น นอกจากนี้ ได้เข้าร่วมแข่งขันการแข่งขันตอบปัญหาทางวิชาการทางโทรทัศน์อีกหลายรายการ เช่น รายการไอคิว-180 รายการเยาวชนคนเก่ง เป็นต้น
 
รศ.ดร.พลังพล ศึกษาระดับ[[ปริญญาตรี]]ที่คณะวิทยาศาสตร์ สาขาเคมี ที่ [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]] ในระหว่างการศึกษา ได้เป็นตัวแทนมหาวิทยาลัยในการเข้าร่วมแข่งขันกีฬาฟันดาบไทย{{อ้างอิง}} และได้เหรียญรางวัลทั้งในประเภททีมและประเภทบุคคล {{อ้างอิง}} ในปีสุดท้ายได้ทำงานวิจัยระดับปริญญาตรี เรื่อง "การใช้แอนทราซีนในการสังเคราะห์ทางเคมี" ในห้องทดลองของ ศ.ดร. [[ยอดหทัย เทพธรานนท์]] [[นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น]] สาขาเคมี ประจำปี พ.ศ. 2529{{อ้างอิง}} ดร.พลังพลได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) สาขาเคมี จาก[[มหาวิทยาลัยมหิดล]] {{อ้างอิง}}และสำเร็จการศึกษาระดับ[[ปริญญาเอก]] ทางเคมีอินทรีย์ จาก [[มหาวิทยาลัยคอร์แนล]] ประเทศ[[สหรัฐอเมริกา]] ภายใต้การให้คำปรึกษาจากศาสตราจารย์ Jon Clardy{{อ้างอิง}} ด้วยการศึกษาโครงสร้างสามมิติด้วยเทคนิค x-ray crystallography ด้วยรังสีเอกซ์จากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน {{อ้างอิง}}และศึกษาการทำงานของโปรตีนหลายชนิด{{อ้างอิง}}เช่น CDC42 (โมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็ง) FKBP12 (เกี่ยวกับกลไกลดภูมิคุ้มกัน) chorismate mutase (เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยา Claisen rearrangement ในเชื้อแบคทีเรีย) prephenate dehydratase และ cyclohexadienyl dehydratase ซึ่งเป็นเอนไซม์ในการสังเคราะห์กรดอะมิโน เป็นต้น
 
== ประวัติการทำงาน ==
บรรทัด 27:
 
== เกียรติคุณและรางวัล ==
[[รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่]] สาขาเคมีอินทรีย์ ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี พ.ศ. 2546<ref>{{อ้างอิงCite web|url=https://op.mahidol.ac.th/ra/research_award_fpst-science-young/|title=รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ – กองบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล|language=th-TH|access-date=2019-12-10}}</ref> จากการศึกษาโครงสร้างสามมิติของโปรตีน dihydrofolate reductase ในเชื้อมาลาเรีย และเอนไซม์ aminotransferase ด้วยเทคนิค x-ray diffraction และจากการศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื้อราในต้นไม้
 
ด้านการประดิษฐ์และนวัตกรรม ดร.พลังพล ได้รับรางวัลจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จากการพัฒนาชุดทดสอบหลายชนิด และมีการนำไปใช้ประโยชน์จริง นอกจากนี้ยังได้รับรางวัลนวัตกรรมสื่อจากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ