ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสาแบบคอรินเทียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tonson Tonsai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:CorinthianOrderPantheon.jpg|thumb|หัวเสาแบบคอรินเทียน]]
 
'''เสาแบบคอรินเทียน''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Corinthian order; กรีก: Κορινθιακός ρυθμός, ) เป็นการพัฒนาขั้นสุดท้ายของเสาแบบคลาสสิกสามประเภทหลัก ของสถาปัตยกรรมกรีกและโรมันโบราณ ซึ่งอีกสองประเภท คือ [[เสาแบบดอริก]] ซึ่งถือกำเนิดแรกสุด ตามด้วย[[เสาแบบไอออนิก]] เมื่อสถาปัตยกรรมคลาสสิกถูกฟื้นขึ้นมาใหม่ในช่วง[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]] ได้มีการเพิ่มอีกสองประเภทของสถาปัตยกรรมเสา ได้แก่ เสาแบบทัสกัน และเสาแบบคอมโพซิต เสาคอรินเทียนก็เป็นหนึ่งในประเภทที่ถูกแยกออกมา โดยถือเป็นประเภทเสาที่มีความหรูหรามากที่สุด รูปแบบสถาปัตยกรรมนี้โดดเด่นด้วยร่องเสาที่เรียวยาวและหัวเสาบรรจงตกแต่งด้วยลายใบอะแคนทัสและปลายโค้งงอ โดยสามารถพบได้ในหลายรูปแบบ
'''เสาแบบคอรินเทียน''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Corinthian order; กรีก: Κορινθιακός ρυθμός, ) ลักษณะหัวเสามีการตกแต่งโดยแกะเป็นรูปดอกไม้ ใบไม้ โดยดัดแปลงมาจากใบ[[อาคันธัส]] (Acanthus) รูปร่างคล้ายผักกาด ทำเป็นใบซ้อนกันสองชั้น แล้วแต่งด้วยดอกไม้ ส่วนล่างของเสามีฐานรองรับแบบเดียวกับเสาแบบไอโอนิค เป็นเสาโรมันที่มีความงดงามมาก
 
ชื่อคอรินเทียนมาจากเมือง[[กรีกโบราณ]] โครินธ์ ถึงแม้ว่าการออกแบบจะมีตัวอย่างจากเสาแบบโรมันตามการออกแบบเสาในวิหารแห่งเทพมาส์ ในฟอรั่มกัสตัส ยังมีการใช้รูปแบบเสาในทางตอนใต้ของ[[กอล]]ในวิหารโรมันโบราณ Maison Carrée ในเมืองนีมส์ และที่วิหารโพเดียมในเมืองเวียนของฝรั่งเศส ตัวอย่างสำคัญอื่น ๆ คือเสาด้านล่างของมหาวิหารยูเปีย และซุ้มประตูที่โคนา (ทั้งในรัชสมัยของ[[จักรพรรดิไตรยานุส]], 98-117 AD) และใน "เสาแห่งพอคัส" (สร้างใหม่ใน[[ปลายสมัยโบราณ]] มาจากดั้งเดิมศตวรรษที่ 2 ) และ [[เทวสถานบาคคัส]] (c. 150 AD)
 
== ดูเพิ่ม ==