ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรม ติณสูลานนท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Suwarode (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 62:
 
== ประวัติ ==
พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เกิดที่ตำบลบ่อยาง [[อำเภอเมืองสงขลา]] [[จังหวัดสงขลา]] ชื่อ "เปรม" นั้น [[พระรัตนธัชมุนี (แบน คณฺฐาภรโณ)]] เป็นผู้ตั้งให้ ส่วนนามสกุล "[[ติณสูลานนท์]]" [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้พระราชทานให้ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2462<ref>[http://pramlatter.tripod.com/pram.html ประวัติ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์<!-- Bot generated title -->]</ref> เป็นบุตรชายคนรองสุดท้อง จากจำนวน 8 คน ของรองอำมาตย์โทหลวงวินิจทัณฑกรรม (บึ้ง ติณสูลานนท์) ต้นตระกูลติณสูลานนท์ กับนางวินิจทัณฑกรรม (ออด ติณสูลานนท์)
 
พล.อ.เอก เปรม สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนวัดบ่อยาง ศึกษาต่อมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่[[โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา]] ในปี 2478 ต่อมาจบมัธยมศึกษาปีที่ 7-8 แผนกวิทยาศาสตร์จาก [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] เมื่อปี 2479 เข้าศึกษาต่อนักเรียนนายร้อย ที่[[โรงเรียนเทคนิคทหารบก]] (ต่อมาคือ[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]]) รุ่นที่ 5 สังกัดเหล่าทหารม้า เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2481 จบหลักสูตรนายทหารฝึกราชการ โรงเรียนนายทหารม้า ระดับผู้บังคับบัญชาปี 2490 หลังจากนั้นก็ไปศึกษาต่อต่างประเทศ ที่สหรัฐ หลักสูตรผู้บังคับกองพัน โรงเรียนยานเกราะของกองทัพบกสหรัฐ ปี 2496, หลักสูตรพิเศษ วิทยาลัยการทัพบก ปี 2503 หลักสูตรวิทยาลัยอ้งกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 9 ปี 2509 และได้ดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางด้านกฎหมายจากมหาวิทยาลัยแห่งชาติฟิลิปปินส์ เมื่อ 23 เมษายน 2498 และยังได้วิศวกรรมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2555<ref name="thairath0562">หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, 27 พฤษภาคม 2562, "อาลัย... พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี", หน้า 28</ref>
 
เมื่อจบการศึกษาในปี 2484 ได้เข้าร่วมรบใน[[กรณีพิพาทอินโดจีน|สงครามอินโดจีน]]ระหว่างไทยกับ[[ฝรั่งเศส]] ที่[[ปอยเปต]] [[ประเทศกัมพูชา]] จากนั้นเข้าสังกัด[[กองทัพพายัพ]] ภายใต้การบังคับบัญชาของ[[หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์)]] ทำการรบใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ระหว่างปี 2485 – 2488 ที่[[เชียงตุง]]{{อ้างอิง}}
 
== ราชการทหาร ==
ภายหลังสงคราม พลเอก เปรม รับราชการอยู่ที่[[จังหวัดอุตรดิตถ์]] และได้รับทุนไปศึกษาต่อที่โรงเรียนยานเกราะของกองทัพบกสหรัฐ ที่[[ฟอร์ตน็อกซ์]] [[รัฐเคนทักกี]] พร้อมกับ[[พิจิตร กุลละวณิชย์|พลเอกพิจิตร กุลละวณิชย์]] และ[[วิจิตร สุขมาก|พลเอกวิจิตร สุขมาก]] เมื่อปี 2495 แล้วกลับมารับตำแหน่งรองผู้บัญชาการโรงเรียนยานเกราะ ต่อมามีการจัดตั้ง[[โรงเรียนทหารม้ายานเกราะ]] [[ศูนย์การทหารม้า]] ที่[[จังหวัดสระบุรี]]
 
พลเอก เปรม ได้รับพระบรมราชโองการเป็นผู้บัญชาการศูนย์การทหารม้า ยศพลตรี เมื่อปี 2511 ในช่วงระยะเวลา 5 ปี ที่ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการศูนย์การทหารม้านี้ ท่านมักเรียกแทนตัวเองต่อผู้ที่อาวุโสน้อยกว่าว่า "ป๋า" และเรียกผู้ที่อาวุโสน้อยกว่าอย่างเอ็นดูและเป็นกันเองว่า "ลูก" จนเป็นที่มาของคำว่า'''ป๋า''' หรือ '''ป๋าเปรม''' และคนสนิทของท่านมักถูกเรียกว่า '''ลูกป๋า''' และเรียกติดปากกันมาจนถึงปัจจุบัน <ref>วีรชาติ ชุ่มสนิท, 24 นายกรัฐมนตรีไทย, ออลบุ๊คส์พับลิสชิ่ง, 2549 ISBN 974-94-55398 </ref>
 
พลเอก เปรม ย้ายไปเป็นรองแม่ทัพภาคที่ 2 ดูแลพื้นที่[[ภาคอีสาน]] ในปี 2516 และเลื่อนเป็นแม่ทัพภาคที่ 2 ดูแลพื้นที่ภาคอีสานเมื่อปี 2517 ได้เลื่อนยศเป็นพลเอก ในตำแหน่งผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก เมื่อปี 2520 และเลื่อนเป็นผู้บัญชาการทหารบก ในปี 2521
 
นอกจากยศ '''พลเอก''' แล้ว พลเอกเปรม ยังถือว่าเป็นหนึ่งในบุคคล ที่ในปัจจุบันที่มิใช่พระบรมวงศานุวงศ์ ที่ได้รับยศ '''พลเรือเอก''' ของ[[กองทัพเรือไทย|กองทัพเรือ]] และ '''พลอากาศเอก''' ของ[[กองทัพอากาศไทย|กองทัพอากาศ]] ด้วย จากการพระราชทานโปรดเกล้าฯ เมื่อเดือนกรกฎาคม 2529<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2529/D/093/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานยศทหาร]</ref> ในระหว่างที่ พลเอกเปรม ยังดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอยู่ (แต่โดยมากจะนิยมใช้ พลเอก มากกว่า)
บรรทัด 80:
ในปี 2502 ในสมัยจอมพล[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] พลเอกเปรมได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จากนั้นได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาปี 2511 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี 2515 <ref name="thairath0562"></ref>ในช่วงสมัยจอมพล[[ถนอม กิตติขจร]]
 
พลเอก เปรม เข้าร่วมรัฐประหารในประเทศไทย 2 ครั้ง ซึ่งนำโดยพลเรือเอก[[สงัด ชลออยู่]] ในวันที่ [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519|6 ตุลาคม 2519]] ซึ่งยึดอำนาจจากรัฐบาล[[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] และวันที่ [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520|20 ตุลาคม 2520]] ซึ่งยึดอำนาจจากรัฐบาล[[ธานินทร์ กรัยวิเชียร]]
 
พลเอก เปรม รับตำแหน่งรัฐมนตรีเป็นครั้งแรกในรัฐบาลพลเอก[[เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] ในตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]] ปี 2520 และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีอย่างต่อเนื่องในรัฐบาลนั้น ในช่วงปลายรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/A/086/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๔ ราย)]</ref> ควบคู่กับตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบก ในปี 2522
 
ในช่วงนั้น พลเอกเปรมได้รับการยอมรับจากหลายฝ่าย หลังจากพลเอก[[เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2523 [[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13|สภาผู้แทนราษฎร]]ทำการหยั่งเสียงเพื่อหาตัวผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และเลือกพลเอกเปรมเป็นนายกรัฐมนตรี โดย[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้พลเอกเปรมดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2523 เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 16 ของไทย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอีกตำแหน่งหนึ่ง<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2523/A/040/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๗ ราย)]</ref>
บรรทัด 108:
=== ผลงาน ===
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}
1.# การปรับปรุง[[ประมวลกฎหมายรัษฎากรและกฎหมายสรรพสินค้า]] เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่สังคม
2.# [[การสร้างงานตามโครงการสร้างงานในชนบท]] ([[กสช.]]) โดยสานต่อจากนโยบายเงินผันที่ดำเนินการมาตั้งแต่สมัยรัฐบาลของ[[หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]]
 
3.# การจัดตั้ง[[คณะกรรมการร่วมภาครัฐบาลและเอกชน]] ([[กรอ.]]) เพื่อส่งเสริมบทบาททางการค้าและการลงทุนของภาคเอกชนภายในประเทศ
2.[[การสร้างงานตามโครงการสร้างงานในชนบท]] ([[กสช.]]) โดยสานต่อจากนโยบายเงินผันที่ดำเนินการมาตั้งแต่สมัยรัฐบาลของ[[หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]]
4.# การแก้ปัญหาการตกต่ำทางเศรษฐกิจในช่วงแรกที่เข้าบริหารประเทศ รัฐบาลได้ดำเนินนโยบายประหยัดมุ่งเน้นในด้านการผลิตและการส่งออกของสินค้ากับประเทศสังคมนิยมตะวันออกอย่างได้ผล ทำให้รัฐบาลชุดนี้สามารถสร้างเสริมกำลังทางด้าน เงินทุนสำรองเงินตราต่างประเทศได้อย่างน่าภูมิใจ จึงนับว่ารัฐบาลสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์เป็นผู้สร้างฐานเศรษฐกิจของชาติที่สำคัญ ทำให้ประเทศไทยมีเงินทุนสำรองที่เป็นเงินตราต่างชาติมากขึ้น รัฐบาลได้สนับสนุนการส่งออก {{citation needed}}
 
5.# การเข้าร่วมประชุมองค์การสหประชาชาติที่สหรัฐอเมริกา ทั้งพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ยังได้เป็นผู้กล่าวปราศรัยสุนทรพจน์ในที่ประชุมด้วย ทำให้ภาพลักษณ์ของประเทศไทยดีขึ้นต่อสายตาต่างชาติ มุมมองทางด้านการลงทุนจากนักลงทุนทั้งหลายต่อท่าทีของภาวะทั่วไปของเศรษฐกิจไทยในด้านการผลิตและการอุตสาหกรรมนั้นแจ่มใสและชัดเจนมากขึ้น
3.การจัดตั้ง[[คณะกรรมการร่วมภาครัฐบาลและเอกชน]] ([[กรอ.]]) เพื่อส่งเสริมบทบาททางการค้าและการลงทุนของภาคเอกชนภายในประเทศ
 
4.การแก้ปัญหาการตกต่ำทางเศรษฐกิจในช่วงแรกที่เข้าบริหารประเทศ รัฐบาลได้ดำเนินนโยบายประหยัดมุ่งเน้นในด้านการผลิตและการส่งออกของสินค้ากับประเทศสังคมนิยมตะวันออกอย่างได้ผล ทำให้รัฐบาลชุดนี้สามารถสร้างเสริมกำลังทางด้าน เงินทุนสำรองเงินตราต่างประเทศได้อย่างน่าภูมิใจ จึงนับว่ารัฐบาลสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์เป็นผู้สร้างฐานเศรษฐกิจของชาติที่สำคัญ ทำให้ประเทศไทยมีเงินทุนสำรองที่เป็นเงินตราต่างชาติมากขึ้น รัฐบาลได้สนับสนุนการส่งออก {{citation needed}}
 
5.การเข้าร่วมประชุมองค์การสหประชาชาติที่สหรัฐอเมริกา ทั้งพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ยังได้เป็นผู้กล่าวปราศรัยสุนทรพจน์ในที่ประชุมด้วย ทำให้ภาพลักษณ์ของประเทศไทยดีขึ้นต่อสายตาต่างชาติ มุมมองทางด้านการลงทุนจากนักลงทุนทั้งหลายต่อท่าทีของภาวะทั่วไปของเศรษฐกิจไทยในด้านการผลิตและการอุตสาหกรรมนั้นแจ่มใสและชัดเจนมากขึ้น
 
ผลงานสำคัญชิ้นหนึ่ง ของพลเอกเปรม คือการผลักดันนโยบาย “การเมืองนำการทหาร” ซึ่งปรากฏออกมาในรูป คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523 65/2525 เพื่อยุติการทำสงครามสู้รบ ระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย กับ ฝ่ายรัฐบาล ผลพวงจากนโยบายดังกล่าว ทำให้นักศึกษา ที่หนีเข้าป่าภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 เพื่อจับอาวุธต่อสู้กับรัฐบาล มีโอกาสหวนมาเดินบนหนทางแห่งสันติภาพได้ นโยบายดังกล่าว ช่วยลด กระทั่งดับเชื้อไฟสงครามกลางเมืองในช่วงนั้นลง เพื่อให้รัฐบาลสามารถทุ่มเทกำลัง มาฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศต่อไป
เส้น 146 ⟶ 142:
ในวันที่ 10 และ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562 พลอากาศเอก [[สถิตย์พงษ์ สุขวิมล]] เลขาธิการสำนักพระราชวัง รับพระบรมราชโองการให้ พลเอก [[สุรยุทธ์ จุลานนท์]] รักษาการประธานองคมนตรี เข้าร่วมพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพ และวางพวงมาลา
<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/B/038/T_0009.PDF</ref>
 
ในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2562 [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี|สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี]] เสด็จฯ พร้อมด้วย[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] และ[[สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา]] ไปยังเมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ [[วัดเทพศิรินทราวาส]] ในการพระราชทานเพลิงศพ พลเอก เปรม <ref>https://www.matichon.co.th/court-news/news_1797828 ในหลวง พระราชินี พระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จฯ พระราชทานเพลิงศพ พล.อ.เปรม</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==