ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาจ้วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 39:
ภาษาจ้วงแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ ได้แก่
 
'''ภาษาจ้วงเหนือ''' (รหัสเดิม ccy ยกเลิกเมื่อปี 2007) คือภาษาถิ่นทางตอนเหนือของแม่น้ำหย่ง (หย่งเจียง 邕江) มีผู้พูด 8,572,200 คน ถือว่าเป็นสำเนียงมาตรฐาน แบ่งออกเป็น
* แบบกุ้ยเป่ย์ (桂北: zgb) มีผู้พูด 1,290,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Luocheng, Huanjiang, Rongshui, Rong'an, Sanjiang, Yongfu, Longsheng, Hechi, Nandan, Tian'e, Donglan
* แบบหลิ่วเจียง (柳江: zlj) มีผู้พูด 1,297,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Liujiang, Laibin North, Yishan, Liucheng, Xincheng
บรรทัด 50:
* แบบเหลียนซาน (连山: zln) มีผู้พูด 33,200 คน อาศัยอยู่บริเวณ Guangdong Lianshan, Huaiji North
 
'''ภาษาจ้วงใต้''' (รหัสเดิม ccy ยกเลิกเมื่อปี 2007) คือภาษาถิ่นทางตอนใต้ของแม่น้ำหย่ง มีผู้พูด 4,232,000 คน แบ่งออกเป็น
* แบบหย่งหนาน (邕南: zyn) มีผู้พูด 1,466,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Yongning South, Fusui Central และ North, Long'an, Jinzhou, Shangse, Chongzuo
* แบบจั่วเจียง (左江: zzj) มีผู้พูด 1,384,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Longzhou (Longjin), Daxin, Tiandeng, Ningming; อยู่ในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำจั่ว