ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แพราเซลซัส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ช่วยดูหน่อย}}
{{Infobox scientist
| region = [[ปรัชญาตะวันตก]]
| era = [[ปรัชญายุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]]
| name = แพราเซลซัส
| image = Aureolus Theophrastus Bombastus von Hohenheim (Paracelsus). Wellcome V0004455.jpg
| image_size = frameless
| caption = ภาพในปีค.ศ.1538 โดย[[Augustin Hirschvogel]]
| birth_name = Theophrastus von Hohenheim
| birth_date = ค.ศ.1493 หรือ ค.ศ.1494<ref name=birth_date>Pagel (1982) p. 6, citing
K. Bittel, "Ist Paracelsus 1493 oder 1494 geboren?", ''Med. Welt'' 16 (1942), p. 1163, J. Strebel, ''Theophrastus von Hohenheim: Sämtliche Werke'' vol. 1 (1944), p. 38.
The most frequently cited assumption that Paracelsus was born in late 1493 is due to
Sudhoff, ''Paracelsus. Ein deutsches Lebensbild aus den Tagen der Renaissance'' (1936), p. 11.</ref>
| birth_place = Egg, ใกล้กับ[[ไอน์ซีเดิลน์]], [[รัฐชวีซ]]<ref>Einsiedeln was under the jurisdiction of Schwyz from 1394 onward; see
{{HLS|710|Einsiedeln}}</ref> (ปัจจุบันคือประเทศสวิตเซอร์แลนด์)
| death_date = {{death date and age|df=yes|1541|09|24|1493|11|11}}
| death_place = [[ซาลซ์บูร์ก]], [[Archbishopric of Salzburg]] (ปัจจุบันคือประเทศออสเตรีย)
| alma_mater = [[University of Ferrara]]
| other_names = Aureolus Philippus Theophrastus, หมอแพราเซลลัส
| school_tradition = [[มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]]
| influenced = [[Johannes Trithemius]]
| influences = [[โทมัส มุฟเฟต]],<ref>Geoffrey Davenport, Ian McDonald, Caroline Moss-Gibbons (Editors), [https://books.google.com/books?id=bGPZSDzOCxYC&dq= ''The Royal College of Physicians and Its Collections: An Illustrated History''], Royal College of Physicians, 2001, p. 48.</ref><br />[[Franciscus Sylvius]],<ref>Digitaal Wetenschapshistorisch Centrum (DWC) – KNAW: [http://www.dwc.knaw.nl/wp-content/berkelbio/54.sylvius.pdf "Franciscus dele Boë"]</ref> [[โทมัส บราวน์]],<ref>Manchester Guardian 19 October 1905</ref><ref>{{cite web|url=http://www.levity.com/alchemy/sir_thomas_browne.html|title=The physician and philosopher Sir Thomas Browne|website=www.levity.com}}</ref> [[Adam Haslmayr]], [[Gabriel François Venel]] (''กำกวม''),<ref>{{Cite book | last = Josephson-Storm | first = Jason | title = The Myth of Disenchantment: Magic, Modernity, and the Birth of the Human Sciences | location = Chicago | publisher = University of Chicago Press | date = 2017 |page = 55 | url = https://books.google.com/books?id=xZ5yDgAAQBAJ | isbn = 0-226-40336-X }}</ref> [[Jane Bennett (political theorist)|Jane Bennett]],<ref name=CISSC>{{cite web|title=CISSC Lecture Series: Jane Bennett, Johns Hopkins University: Impersonal Sympathy|url=http://cissc.concordia.ca/lecturesconferencesandevents/2012-13/?share=1|publisher=Center for Interdisciplinary Studies in Society and Culture, Concordia University, Montreal|accessdate=9 February 2018|date=22 March 2013|url-status=bot: unknown|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140728234301/http://cissc.concordia.ca/lecturesconferencesandevents/2012-13/?share=1|archivedate=28 July 2014}}</ref> [[Giorgio Agamben]]<ref>Josephson-Storm (2017), 238</ref>
| notable_ideas = [[พิษวิทยา]]<br />"[[The dose makes the poison]]"
}}
[[ไฟล์:Paracelsus.jpg|thumb|ภาพวาดแพราเซลซัส โดยเควนติน แมตซิส]]
 
'''แพราเซลซัส''' ({{lang-en|Paracelsus}}; [[11 พฤศจิกายน]] หรือ [[17 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1493]] - [[24 กันยายน]] [[ค.ศ. 1541]]) เป็นชาวเยอรมันในประเทศสวิตเซอร์แลนด์, [[นักฟิสิกส์]], [[นักพฤกษศาสตร์]], [[นักเล่นแร่แปรธาตุ]], [[นักดาราศาสตร์]] และผู้ใช้[[เวทมนตร์]]ทั่วไปแห่งสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เขาเป็นผู้กำหนดกฎแห่งพิษวิทยา (The Discipline of Toxicology) อีกทั้งยังเป็นนักปฏิวัติผู้ยืนหยัดในเรื่องของการสังเกตความเป็นไปของธรรมชาติ แทนที่จะมัวดูแค่ตำราเก่า ๆ โบราณ เขายังเป็นผู้ตั้งชื่อให้กับ[[สังกะสี|ธาตุสังกะสี]] ([[Zinc]]) โดยให้ชื่อว่า ''zincum'' นักจิตวิทยาสมัยใหม่มักจะให้การยอมรับว่าเขาเป็นผู้บันทึกคนแรกเกี่ยวกับเรื่องที่ว่า โรคบางโรคมีสาเหตุมาจากภาวะการป่วยทางจิต
 
เขาเป็นคนหัวแข็งและรักอิสระ เติบโตขึ้นด้วยความผิดหวังและชีวิตที่ขมขื่น ซึ่งนั่นเองคงเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมเขาถึงได้กลายเป็นนักปฏิรูป