ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎ผลกระทบและความเสียหาย: แก้จังหวัดที่ตกหล่นเติมลงไปถูกต้องแล้วครับ
บรรทัด 441:
วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ศูนย์ปฏิบัติการรองรับเหตุฉุกเฉิน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ศปฉ.ปภ.) <ref>[http://61.19.100.58/public/Group3/datagroup3/2554/dailyreportdec/morning10.pdf รายงานศูนย์ปฏิบัติการรองรับเหตุฉุกเฉิน กรมบรรเทาและป้องกันสาธารณภัย]</ref> และศูนย์สนับสนุนการอำนวยการและการบริหารสถานการณ์ อุทกภัยวาตภัยและดินโคลนถล่ม (ศอส.) <ref>[http://www.disaster.go.th/dpm/flood/news/news_thai/EOCReport10DEC.pdf รายงานสรุปสถานการณ์ อุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม]</ref> รายงานตรงกันเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันว่า ยังมีพื้นที่ประสบอุทกภัยประเทศไทยตอนบน 10 จังหวัด 83 อำเภอ 579 ตำบล 3,851 หมู่บ้าน เฉพาะกรุงเทพมหานคร 36 เขต ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 1,658,981 ครัวเรือน 4,425,047 ราย ฟื้นฟู 55 จังหวัด ประสบอุทกภัยรวม 65 จังหวัด และอ่างเก็บน้ำไม่สามารถรับน้ำเพิ่มได้อีกจำนวน 8 อ่างจาก 33 อ่างทั่วประเทศ นับตั้งแต่วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 รายงานเสียชีวิตรวม 680 ราย สูญหาย 3 ราย มากที่สุดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจำนวน 139 ราย
 
ในภาคใต้พื้นที่ที่ประกาศภาวะฉุกเฉินตั้งแต่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 มี 8 จังหวัด 65 อำเภอ 362 ตำบล 2,057 หมู่บ้านได้แก่ จังหวัดตรัง พัทลุง นครศรรธรรมราชนครศรีธรรมราช ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสุราษฏร์ธานีสุราษฎร์ธานี พื้นที่ทางการเกษตรเสียหาย 118,358 ไร่ วัด/มัสยิด 7 แห่ง โรงเรียน 30 แห่ง สถานที่ราชการ 10 แห่ง ถนน 783 แห่ง สะพานและคอสะพาน 113 แห่ง ฝาย 19 แห่ง ปศุสัตว์ 5,777 ตัว ประมง 1,086 บ่อ เสียชีวิต นับจากวันดังกล่าว 9 ราย
 
=== การศึกษา ===