ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 334:
* {{cite journal | title = British Medical Journal 1899 April 15 | pmc = 2462491 | quote = SOME time ago we received from a correspondent an inquiry as to whether the very prevalent belief that a dog perspires through the tongue was a vulgar error or well founded. ...whether the dog exudes fluid from the tongue of the some kind as that exuded from the human skin. To this question the answer is, No. The skin of the dog is abundantly furnished with glands, having the characteristic disposition and structure of those which in man produce sweat, ... in other words, the dog does not sweat by the tongue. | pages = 921-28 | volume = 1 | issue = 1998 | journal = British Medical Journal | doi = 10.1136/bmj.1.1998.921}}
</ref> สุนัขจริง ๆ ก็มี[[ต่อมเหงื่อ]]และไม่ใช่ที่[[ลิ้น]]เท่านั้น แต่จะเหงื่อออกโดยมากที่เยื่อบุเท้า อย่างไรก็ดี สุนัขจะควบคุม[[อุณหภูมิร่างกาย]]โดยหลักผ่าน[[การหายใจ]]กระหืดกระหอบ<ref>{{cite web | url = http://www.petplace.com/dogs/how-do-dogs-sweat/page1.aspx | title = How Do Dogs Sweat | page = 1 | publisher = Petplace.com | accessdate = 2012-02-09 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20131214113342/http://www.petplace.com/dogs/how-do-dogs-sweat/page1.aspx | archivedate = 2013-12-14 | deadurl = no}}</ref><!--เผื่ออนาคต See also ''[[Dog anatomy#Temperature regulation|Dog anatomy]]''. -->
* [[หนูทุ่ง]]ใน[[เผ่า (ชีววิทยา)|เผ่า]] Lemmini ไม่ได้ฆ่าตัวตายหมู่โดยกระโดดลงจากหน้าผาเมื่ออพยพ นี่เป็นความเข้าใจผิดที่ทำให้นิยมโดย[[ภาพยนตร์]]ของ[[วอลต์ดิสนีย์]] เรื่อง ''White Wilderness'' ซึ่งถ่ายซีนอพยพต่าง ๆ บนแป้นหมุนขนาดใหญ่อันคลุมด้วด้วย[[หิมะ]]ในโรงถ่าย โดยบางครั้งใช้ซีนที่ถ่ายกับหนูหลายกลุ่มรวมเป็นซีนเดียวกัน ช่างช่วงถ่ายตอนหลังยังผลักหนูให้ตกจาก "หน้าผา" อีกด้วย<ref>{{cite web | url = http://www.snopes.com/disney/films/lemmings.asp | title = White Wilderness Lemmings Suicide | publisher = Snopes | date = 2007-08-19 | first = Barbara and David P. | last = Mikkelson | accessdate = 2009-08-29 }}
</ref> แต่ความเข้าใจผิดเองก็เก่าแก่ยิ่งกว่านี้ โดยกลับไปอย่างน้อยในคริสต์ทศวรรษที่ 19<ref>{{cite journal | last = Scott | first = W. | journal = The Monthly chronicle of North-country lore and legend | date = 1891-11 | title = The Monthly chronicle of North-country lore and legend: v.1-5; Mar. 1887-Dec. 1891 | volume = 5 | page = 523 | url = https://books.google.com/books?id=W8rUAAAAMAAJ&pg=PA523#v=onepage&q&f=false | accessdate = 2011-01-07}}</ref>
* [[ค้างคาว]]ไม่ได้[[ตาบอด]] แม้ค้างคาวประมาณ 70% โดยหลักจาก[[อันดับ (ชีววิทยา)|อันดับย่อย]] Microchiroptera (microbat) จะใช้[[เสียง]]สะท้อนเพื่อกำหนดวัตถุและ[[ทิศทาง]] แต่ค้างคาวทั้งหมดก็มี[[ตา]]และสามารถมองเห็นได้ นอกจากนั้นแล้ว [[ค้างคาวผลไม้]] ([[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] Pteropodidae) เกือบทั้งหมดไม่ได้ใช้เสียงสะท้อนเพื่อกำหนดวัตถุกับทิศทาง และมีตาเห็นเวลา[[กลางคืน]]ที่ดีมาก<ref name="bats">
บรรทัด 356:
[[ไฟล์:Smeringopus.pallidus.female.with.eggsac.-.takinawa.jpg |thumb |แมงมุม daddy longleg พันธุ์ ''Smeringopus pallidus'' ตัวเมียกับถุงไข่ มีพิษอย่างมากก็พอให้แสบ ๆ]]
[[ไฟล์:AD2009Aug08 Bombus pratorum.jpg|thumb| ผึ้ง[[บัมเบิลบี]]บินอยู่เหนือช่อดอกไม้[[วงศ์ทานตะวัน]] ''Echinacea purpurea'' มีความเข้าใจผิดอย่างกว้างขวางว่า บัมเบิลบีไม่ควรจะบินได้ ]]
 
==== สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ====
* [[ไส้เดือนดิน]]โดยมากไม่ได้แบ่งเป็นสองตัวเมื่อถูกตัดเป็นสองส่วน เพราะมีไส้เดือนดินไม่กี่[[สปีชีส์]]<ref>{{cite journal | doi = 10.1002/jez.1401170102 | title = Simultaneous anterior and posterior regeneration and other growth phenomena in Maldanid polychaetes | date = 1942 | last1 = Moment | first1 = Gairdner B. | journal = Journal of Experimental Zoology | volume = 117 | pages = 1-13}}