ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการสกด
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 4:
| title = เจ้าชายแห่งเวลส์
| image = Prince James Francis Edward Stuart by Alexis Simon Belle.jpg
| succession = [[จาโคไบต์|ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์สายจาโคไบท์ไบต์]]
| caption = พระบรมสาทิสลักษณ์ วาดโดย อเล้กซิส ไซ่ม่อน เบลล์, ประมาณ ค.ศ. 1712
| reign = 16 กันยายน ค.ศ. 1701 – 1 มกราคม ค.ศ. 1766
บรรทัด 29:
[[ไฟล์:Maria Klementyna Sobieska (1702-1735).jpg|right|thumb|270px|มาเรีย คลีเม็นทินา โซบิเอสกา พระชายา]]
[[ไฟล์:Tomb of Stuart in the Vatican.jpg|right|thumb|270px|หลุมศพของเจ้าชายเจมส์]]
'''เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต''' หรือ '''ผู้อ้างสิทธิเฒ่า'''([[ภาษาอังกฤษ]]: '''{{lang-en|James Francis Edward Stuart''' หรือ '''The Old Pretender''' หรือ '''The Old Chevalier'''}}) ([[10 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1688]][[1 มกราคม]] [[ค.ศ. 1766]]) เจมส์ได้รับการขนานพระนามว่า '''The Old Pretender''' ([[ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์]]) เป็นพระราชโอรสของ[[สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]ผู้ถูกปลดจากราชบัลลังก์อังกฤษ และ [[แมรีแห่งโมดีนา|สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา]] ในฐานะที่เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เจมส์ ฟรานซิสจึงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของ[[ราชอาณาจักรอังกฤษ]] และ[[ราชอาณาจักรสกอตแลนด์]]ในนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์ เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี [[ค.ศ. 1701]] [[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส]]ทรงประกาศว่าเจมส์ ฟรานซิสเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์และไอร์แลนด์โดยชอบธรรม
 
== กำเนิด ==
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวตทรงเป็นปัญหาตั้งแต่วันที่เกิดที่[[พระราชวังเซนต์เจมส์]]ในปี ค.ศ. 1688 ประสูติในรัชสมัยของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 และพระราชินีแมรีแห่งโมดีนาผู้เป็น[[โรมันคาทอลิก]] พระเจ้าเจมส์ที่ 2 มีพระราชธิดาสองพระองค์ก่อนหน้านั้นผู้ได้รับการเลี้ยงดูอย่าง[[โปรเตสแตนต์|นิกายโปรเตสแทนต์โปรเตสแตนต์]] การที่พระเจ้าเจมส์ที่ 2 มีพระราชโอรสเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ที่กลัวว่าอังกฤษจะกลับไปตกไปอยู่ใต้การปกครองของประมุขที่เป็นโรมันคาทอลิกต้องหาวิธีกำจัด พระเจ้าเจมส์ที่ 2
 
เมื่อเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสประสูติก็มีข่าวลือว่าเจมส์ ฟรานซิสมิใช่พระราชโอรสที่แท้จริง แต่เป็นเด็กที่ถูกลักลอบเข้ามาในถาดถ่านที่ใช้อุ่นเตียงก่อนนอน (bed-warming pan) เข้ามาในห้องที่สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนาใช้ประสูติเพื่อแทนพระโอรสที่สิ้นพระชนม์หลังประสูติ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม เพียงไม่ถึงหกเดือนหลังการประสูติสมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนาก็พาพระโอรสหลบหนีไปยังฝรั่งเศสเพื่อความปลอดภัย ขณะที่พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ยังประทับอยู่ในอังกฤษเพื่อพยายามรักษาราชบัลลังก์ไว้
 
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสและพระขนิษฐา[[ลุยซา มาเรีย เทเรซา สจวต]]เติบโตในฝรั่งเศส ในฝรั่งเศส[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]]ทรงยอมรับว่าเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสเป็นรัชทายาทของอังกฤษและสกอตแลนด์ เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสกลายเป็นศูนย์กลางของขบวนการสนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต ([[จาโคไบท์ไบต์]])
 
== ชิงราชบัลลังก์ ==
เมื่อพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เสด็จสวรรคตในปี [[ค.ศ. 1701]] เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ทรงประกาศพระองค์เป็นพระเจ้าแผ่นดินในพระนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์และเป็นที่ยอมรับในฝรั่งเศส สเปน วาติกันและโมดีนา รัฐต่างๆ เหล่านี้ไม่ยอมรับว่า[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระราชินีนาถแมรีที่ 2]] และ [[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าวิลเลียมที่ 3]]เป็นพระมหากษัตริย์ของอังกฤษโดยชอบธรรม
 
== การแข็งข้อของผู้สนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต ==
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสพยายามชิงพระราชบัลลังก์โดยทรงพยายามที่จะรุกรานอังกฤษเมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1708 โดยขึ้นที่เฟิร์ธออฟฟอร์ธ แต่กองทัพเรือฝรั่งเศสของพระองค์ถูกขับโดยกองทัพเรือของจอร์จ บิง ไวเคานท์ทอร์ริงตัน ถ้าเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสประกาศยกเลิกสละการเป็นโรมันคาทอลิกก็คงทรงมีโอกาสได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ<ref>Sir Winston Churchill, A History of the English-Speaking Peoples, Vol. 2, Dodd, Mead & Co., NY 1957, pp. 97-98.</ref> แต่ก็ไม่ทรงยอมทำ เมื่อกองทัพฝรั่งเศสพ่ายแพ้ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ก็ทรงถูกบังคับให้มีสัมพันธไมตรีกับอังกฤษและพันธมิตรของอังกฤษโดยการลงนามใน[[สนธิสัญญายูเทรกต์]] ซึ่งข้อหนึ่งในสนธิสัญญาระบุว่าต้องขับเจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสจากฝรั่งเศส
 
== สิบห้า ==
ปีต่อมาผู้สนับสนุนการปกครองโดยราชวงศ์สจวต (Jacobiteจาโคไบต์) ก็ริเริ่ม [[en:Jacobite rising of 1715|สงครามฟื้นฟูราชวงศ์สจวต]] (The Fifteen Jacobite rising) ในสกอตแลนด์เพื่อกู้ราชบัลลังก์ให้แก่เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิส ในปี ค.ศ. 1715 เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ได้ขึ้นฝั่งที่สกอตแลนด์หลังศึกเชอริฟเมอร์ แต่ก็ทรงผิดหวังกับกำลังที่สนับสนุน แทนที่จะเข้าพิธีราชาภิเศกที่สโคน เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสเสด็จกลับฝรั่งเศสทางเรือจากมอนท์โรส แต่ไม่ทรงได้รับการต้อนรับในฝรั่งเศสหลังจากที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เสด็จสวรรคตไปแล้ว
 
== ชีวิต “ผู้อ้างสิทธิ” ==
บรรทัด 51:
 
== การแต่งงาน ==
เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1719 เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสก็ทรงเสกสมรสกับมาเรีย เคลเม็นทินา โซบิเอสกา (Maria Klementyna Sobieska) ผู้เป็นพระนัดดาของ[[พระเจ้าจอห์นยันที่ 3 ซอบีแยสกีแห่งโปแลนด์]] มีพระโอรสด้วยกันสององค์
 
# [[ชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ด สจวต]] (Charles Edward Stuart), ([[31 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1720]][[31 มกราคม]] [[ค.ศ. 1788]]) หรือที่รู้จักกันในนาม '''บอนนีพรินซ์ชาร์ลี''' (Bonnie Prince Charlie)
# [[เฮนรี เบนเนดิค สจวต]] (Henry Benedict Stuart), (11 มีนาคม [[ค.ศ. 1725]][[13 July]]กรกฎาคม [[ค.ศ. 1807]]) ต่อมาเป็นคาร์ดินัล
 
== บอนนีพรินซ์ชาร์ลี ==
บรรทัด 60:
 
== สิ้นพระชนม์ ==
เจ้าชายเจมส์ ฟรานซิสสิ้นพระชนม์ที่กรุงโรมเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1766 พระศพถูกฝังไว้ที่[[มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์]] ในวันที่ [[14 มกราคม]] [[ค.ศ. 1766]] รัฐบาลวาติกันก็ยอมรับ[[ราชวงศ์ฮาโนเวอร์ฮันโนเฟอร์]]ว่าเป็นราชวงศ์ที่ปกครองอังกฤษและไอร์แลนด์โดยชอบธรรม
 
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
* [[ราชวงศ์สจวต]]
* [[รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ|ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์]]
 
== อ้างอิง ==