ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[File:SDLC-Maintenance-Highlighted.png|thumb|รูปแบบคร่าว ๆ ของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ]]
 
ในด้าน[[วิศวกรรมระบบ]] [[ระบบสารสนเทศ]] และ[[วิศวกรรมซอฟต์แวร์]] '''วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ''' ({{lang-en|systems development life cycle หรือ SDLC}}) หรือ '''วงจรการพัฒนาแอปพลิเคชัน''' ({{lang-en|application development life-cycle}}) เป็นโครงร่างหรือแนวทางวิธีการกระบวนการวางแผน สร้าง ทดสอบ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อปรับใช้เป็นขั้นตอนการพัฒนา [[ระบบสารสนเทศ]] หรือ<ref>[[ซอฟต์แวร์https://www.cms.gov/Research-Statistics-Data-and-Systems/CMS-Information-Technology/XLC/Downloads/SelectingDevelopmentApproach.pdf SELECTING A DEVELOPMENT APPROACH]]ให้สำเร็จ. โดยRetrieved 17 July 2014.</ref> หลักการของวงจรการให้พัฒนาระบบสารสนเทศสามารถนำมาซึ่งใช้ได้ในส่วนประกอบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ โดยระบบนั้นอาจจะเป็นโดยการซื้อฮาร์ดแวร์อย่างเดียว ซอฟต์แวร์อย่างเดียว หรือการจ้างทำหรือการพัฒนาเองมีทั้งสองอย่างก็ได้<ref>{{cite journal |author1=Parag C. Pendharkara |author2=James A. Rodgerb |author3=Girish H. Subramanian | date=November 2008 |title=An empirical study of the Cobb–Douglas production function properties of software development effort |journal=Information and Software Technology |volume=50 |issue=12 | pages= 1181–1188 | doi=10.1016/j.infsof.2007.10.019}}</ref>
 
== ลำดับวงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ ==
ระเบียบวิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์มีอยู่หลายวิธีการ แต่ละวิธีการมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกัน ตัวอย่างระเบียบวิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ได้รับความนิยม เช่น [[โครงสร้างแบบน้ำตก]] (Waterfall Model), [[โครงสร้างแบบก้นหอย]] (Spiral Model), วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบคล่องแคล่วว่องไว (Agile Software Development)
 
== ลำดับวงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟต์แวร์ ==
# '''การวางแผน (Planning)''' เป็นขั้นตอนการการวางแผนงานโดย กำหนดรูปแบบของซอฟต์แวร์ ประมาณการต้นทุนในการพัฒนาระบบ กำหนดแนวทางของการพัฒนาระบบ กำหนดระยะเวลา เป็นต้น
# '''การวิเคราะห์ความต้องการ (Analysis)''' เป็นขั้นตอนของการค้นหาความต้องการของระบบ และวิเคราะห์ความต้องการนั้น เพื่อให้เข้าใจภาพรวมและหน้าที่การทำงานของระบบ
เส้น 17 ⟶ 15:
# '''การนำไปใช้งานงานจริง (Production)''' เป็นขั้นตอนที่นำระบบที่พัฒนาสำเร็จและผ่านการทดสอบแล้วไปใช้งาน โดยทำการติดตั้ง และสอนวิธีการใช้งานแก่ผู้ใช้
# '''การให้ความช่วยเหลือ (Support)''' เป็นขั้นตอนของการให้ความช่วยเหลือต่อผู้ใช้ เมื่อพบปัญหา โดยหากปัญหาที่เกิดไม่สามารถแก้ไขได้ จะต้องทำการพัฒนาระบบเพิ่มเติม ก็จะเริ่มวนไปที่ขั้นตอนแรกใหม่
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์]]