ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "สถิตย์" → "สถิต" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{Infobox monument
| image = Phra Phrom at Erawan Shrine.jpg
| caption =
| image_size = 250px
| location = [[สี่แยกราชประสงค์]] [[แขวงลุมพินี]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| designer = จิตร พิมพ์โกวิท กองหัตถศิลป์ [[กรมศิลปากร]]
| type = รูปสักการะ [[ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู]]
| material = ปูนพลาสเตอร์ปิดทอง
| length =
| width length =
| width =
| height =
| begin =
| complete = พ.ศ. 2499
| open =
| dedicated_to = [[ท้าวมหาพรหม]]
| map_name =
| map_caption =
| coordinates =
| website =
}}
 
เส้น 22 ⟶ 23:
[[ไฟล์:Erawan shrine flowers.jpg|thumb|250px|ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมแกรนด์ไฮแอทเอราวัณ]]
[[ไฟล์:Erawan-Schrein_top.jpg|thumb|250px|บริเวณเทวาลัย ศาลท้าวมหาพรหม ถ่ายจากรถไฟฟ้าบีทีเอส]]
'''ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมแกรนด์ไฮแอทเอราวัณ''' ({{lang-en|Erawan Shrine}}; {{lang-zh|四面佛, 梵天}}; [[พินอิน]]:Sìmiàn fú, Fàntiān; {{lang-ja|梵天}}; [[โรมะจิ]]: Bonten) เป็น[[เทวสถาน|ศาล]]ของ[[พระพรหม(ศาสนาพุทธ)|ท้าวมหาพรหม]]ตั้งอยู่หน้า[[โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ]] บริเวณ[[สี่แยกราชประสงค์]] [[ถนนราชดำริ]] [[แขวงลุมพินี]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
==ประวัติ==
[[ไฟล์:People praying at Erawan Shrine 2018.jpg|thumb|ผู้คนสักการะท้าวมหาพรหม เมื่อ ปีพ.ศ. 2561]]
 
เมื่อ [[พ.ศ. 2494]] พลตำรวจเอก [[เผ่า ศรียานนท์]] ขณะดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจ กำหนดให้มีการก่อสร้างสร้าง[[โรงแรมเอราวัณ]] ขึ้นบริเวณสี่แยกราชประสงค์ เพื่อรองรับแขกต่างประเทศ ว่ากันว่า ในช่วงแรกของการก่อสร้างเกิดอุบัติเหตุขึ้นมากมาย เมื่อการก่อสร้างใกล้แล้วเสร็จ ปลายปี [[พ.ศ. 2499]] ทาง [[บริษัท สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว จำกัด]] ผู้บริหารโรงแรมได้ติดต่อ พลเรือตรี [[หลวงสุวิชานแพทย์]] ร.น.]] นายแพทย์ใหญ่ กองทัพเรือ ผู้ทรงคุณวุฒิในเรื่องการนั่งทางใน เข้าดำเนินการให้หาฤกษ์วันเปิดโรงแรม<ref>{{cite web|url=https://mgronline.com/crime/detail/9490000038096|work=[[ผู้จัดการออนไลน์]]|date=2009-03-21|title=หนุ่มเพี้ยนบุกทุบท้าวมหาพรหมพังทั้งองค์!! ชาวบ้านแค้นรุมยำดับอนาถ}}</ref>
 
พลเรือตรี หลวงสุวิชานแพทย์ได้นแพทย์ ท้วงติงว่า ในการก่อสร้างโรงแรมไม่ได้มีการทำพิธีบอกกล่าวสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในบริเวณนั้นก่อน ฤกษ์ในการวางศิลาฤกษ์ของโรงแรมก็ไม่ถูกต้อง อีกทั้งชื่อของโรงแรม "เอราวัณ" นั้น เป็นชื่อของช้างทรงของ[[พระอินทร์]] ถือเป็นชื่อที่ศักดิ์สิทธิ์ จำเป็นต้องมี[[การบวงสรวง]]ที่เหมาะสม วิธีการแก้ไขจะต้องขอพรจาก[[พระพรหม]]เพื่อช่วยให้อุปสรรคหมดไป และจะต้องสร้างศาลพระพรหมขึ้นทันทีหลังจากการก่อสร้างโรงแรมแล้วเสร็จ และสร้างศาลพระภูมิขึ้นไว้ในโรงแรม{{อ้างอิง}}
 
จึงได้มีการตั้งศาลพระพรหม ผู้ออกแบบตัวศาลโดยนาย คือ [[ระวี ชมเสรี]] และ ม.ล.หม่อมหลวง[[ปุ่ม มาลากุล]] องค์ส่วนรูปท้าวมหาพรหมนั้นปั้นด้วย[[ปูนพลาสเตอร์]]ปิดทอง ผู้ออกแบบและปั้นโดยนาย คือ [[จิตร พิมพ์โกวิท]] ช่างกองหัตถศิลป์ กรมศิลปากร และเสร็จแล้วอัญเชิญพระพรหมมาประดิษฐานที่หน้าโรงแรมเอราวัณเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 {{อ้างอิง}}
 
ตามแผนงานครั้งแรก องค์รูปท้าวมหาพรหมจะเป็นโลหะหล่อสีทอง แต่เนื่องจากระยะเวลาจำกัดด้วยฤกษ์การเปิดโรงแรม จึงได้เปลี่ยนวัสดุเป็นปูนปั้นปิดทองแทน<ref name="พระพรหม"/>{{dead link}}
 
นอกจากนี้แล้ว รูปท้าวมหาพรหม โรงแรมแกรนด์ไฮแอทเอราวัณ ยังถือว่าเป็นพระพรหมที่ถูกนี้สร้างขึ้นมาห้วงในเวลาเดียวกับรูปพระพรหมที่ตั้งสถิตย์อยู่ในศาลบนดาดฟ้าตึกไทยคู่ฟ้า [[ทำเนียบรัฐบาล]] โดยเกิดจากการให้ซึ่งก็สร้างตามคำแนะนำของพลเรือตรี หลวงสุวิชานแพทย์นแพทย์ เช่นเดียวกัน<ref name="พระพรหม"/>
 
ปัจจุบัน ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมแกรนด์ไฮแอทเอราวัณ อยู่ในความดูแลของ "มูลนิธิทุนท่านท้าวมหาพรหม" มีการรำ[[ละครชาตรี]] แก้บนกันทุกวัน โดยเหตุว่าพระพรหมที่เป็นที่รู้จักและเคารพนับถือกันอย่างมาก เชื่อกันว่า ถ้าบนบานด้วยละครรำ จะประสบผลสำเร็จในสิ่งที่ต้องการ จึงมีการรำ[[ละครชาตรี]]แก้บนทุกวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่ชาวต่างชาติ เช่น [[ชาวจีน]]ถึงมีการจัดทัวร์มาสำหรับไหว้สักการะโดยเฉพาะ และมีชาวจีนที่มีชื่อเสียงหลายคนเคยเดินทางมาที่นี่ เช่น [[เหลียง เฉาเหว่ย]], [[หง จินเป่า]], [[เซียะ ถิงฟง]] เป็นต้น<ref name="พระพรหม">[https://www.facebook.com/kornkitd/posts/10152967331371954:0 Kornkit Disthan], ''เฟซบุก'', August 27, 2015 (retrieved on August 26, 2015)</ref>{{dead link}} ล่าสุด [[เหริน ต๋าหัว]] และ [[หมี เสว่]] ก็เดินทางมาสักการะ หลังเหตุระเบิดในวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558{{อ้างอิง}}
 
== ถูกการทุบทำลายใน พ.ศ. 2549 ==
เมื่อกลางดึกของคืนวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 ศาลถูกชายเสียสติผู้หนึ่งใช้ค้อนทุบทำลายซึ่งทำให้ตัวองค์ท้าวมหาพรหมแตก ดังนั้นจึงมีกำหนดการที่จะบูรณะพระองค์ขึ้นมาใหม่ พร้อมกับสร้างองค์ใหม่ด้วย แล้วเสร็จในปลายเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน<ref name=พรหม>{{cite web|url=http://www.komchadluek.net/news/today-in-history/317263|title=ทุบพังทั้งองค์ พระพรหมเอราวัณ ลางร้าย คลั่ง หรือลับลวงพราง!|work=[[คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)|คมชัดลึก]]|date=2018-03-21}}</ref>
 
เมื่อกลางดึกของคืนกลางคืนวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 ศาลถูกชายเสียสติผู้หนึ่งใช้ค้อนทุบทำลายซึ่งศาล ทำให้ตัวองค์รูปท้าวมหาพรหมแตก ดังนั้นจึงมีกำหนดการที่จะบูรณะพระองค์ขึ้นมาใหม่ พร้อมกับสร้างองค์ใหม่ด้วยทั้งศาลและรูปท้าวมหาพรหม แล้วเสร็จในปลายเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน<ref name=พรหม>{{cite web|url=http://www.komchadluek.net/news/today-in-history/317263|title=ทุบพังทั้งองค์ พระพรหมเอราวัณ ลางร้าย คลั่ง หรือลับลวงพราง!|work=[[คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)|คมชัดลึก]]|date=2018-03-21}}</ref>
มูลนิธิทุนท่านท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ ได้ทำพิธีอัญเชิญองค์ท่านท้าวมหาพรหม ที่บูรณะเสร็จแล้วกลับมาประดิษฐานที่เทวาลัย ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 เวลา 11.39 น. ซึ่งเป็นเวลาที่องศาของดวงอาทิตย์ส่องตรงศาลพอดี โดยอัญเชิญเป็นขบวนจากกรมศิลปากรมาจนถึงศาลท้าวมหาพรหม ส่วนชายผู้ที่ใช้ค้อนทุบทำลายศาลดังกล่าว ภายหลังเกิดเหตุได้ถูกผู้เห็นเหตุการณ์ทุบตีจนเสียชีวิต<ref name=พรหม/> <ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/519588|work=[[ไทยรัฐ]]|date=2015-08-22|title=เปิดฮวงจุ้ยราชประสงค์ ย้อนคดีทุบพระพรหม ไขขั้นตอนบูรณะ}}</ref> <ref>{{cite web|date=2017-05-09|title=ครบรอบ 61 ปี วันตั้งศาลท้าวมหาพรหม ชาวไทย-ต่างชาติแห่สักการะแน่น|url=https://www.thairath.co.th/content/1121557|work=ไทยรัฐ}}</ref>
 
มูลนิธิทุนท่านท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ ได้ทำพิธีอัญเชิญองค์ท่านท้าวมหาพรหม รูปที่บูรณะเสร็จแล้วกลับมาประดิษฐานที่เทวาลัย ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 เวลา 11.:39 น.นาฬิกา ซึ่งเป็นเวลาที่องศาของดวงอาทิตย์ส่องตรงศาลพอดี โดยอัญเชิญเป็นขบวนจากกรมศิลปากรมาจนถึงศาลท้าวมหาพรหม ส่วนชายผู้ที่ใช้ค้อนทุบทำลายศาลดังกล่าว ภายหลังเกิดเหตุได้ถูกผู้เห็นเหตุการณ์ทุบตีจนเสียชีวิต<ref name=พรหม/> <ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/519588|work=[[ไทยรัฐ]]|date=2015-08-22|title=เปิดฮวงจุ้ยราชประสงค์ ย้อนคดีทุบพระพรหม ไขขั้นตอนบูรณะ}}</ref> <ref>{{cite web|date=2017-05-09|title=ครบรอบ 61 ปี วันตั้งศาลท้าวมหาพรหม ชาวไทย-ต่างชาติแห่สักการะแน่น|url=https://www.thairath.co.th/content/1121557|work=ไทยรัฐ}}</ref>
== ถูกระเบิด พ.ศ. 2558 ==
 
== ถูกการระเบิดใน พ.ศ. 2558 ==
{{บทความหลัก|เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558}}
 
วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เวลา 18.:55 น.นาฬิกา มีการระเบิดขึ้นบริเวณที่สี่แยกราชประสงค์ กลางกรุงเทพมหานคร ใกล้กับศาลท้าวมหาพรหม [[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ]]รายงานว่า เป็นระเบิดทีเอ็นทีหนัก 5 กิโลกรัม ถูกบรรจุในท่อที่อยู่ในท่อภายในบริเวณศาลท้าวมหาพรหม โดยมีรัศมีการทำลายล้าง 30 เมตรจากจุดระเบิด มีผู้ได้รับบาดเจ็บกว่า 70 รายคน และเสียชีวิตทันทีถึง 16 รายคน<ref>[http://www.komchadluek.net/detail/20150817/211798.html ‘เสียชีวิต16ราย’ระเบิดราชประสงค์เจ็บกว่า70], ''คมชัดลึก'', August 27, 2015 (retrieved on August 17, 2015)</ref>
 
องค์เทวรูปรูปท้าวมหาพรหมได้รับเสียหายทั้งหมด 12 จุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนคาง ใช้งบประมาณในการบูรณะ 70,000 บาท ใช้เวลาบูรณะประมาณ 9 วัน<ref>[http://www.dailynews.co.th/regional/344122 กรมศิลป์ฯบูรณะพระพรหม ระดมช่างสิบหมู่ซ่อมแซม], ''[[เดลินิวส์]]'', August 30, 2015 (retrieved on August 26, 2015)</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Erawan Shrine| ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ}}
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://www.wikimapia.org/#y=13744132&x=100540910&z=18&l=0&m=a}}