ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าอุปราช (บุญทวงษ์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ทรงเป็นเจ้านายประเทศราช
ไม่ใช่เจ้านคร
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 18:
| รัชกาลถัดมา =
}}
'''เจ้าอุปราช (บุญทวงษ์)'''<ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา.'' พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 350-351</ref> [บุน-ทะ-วง] หรือ '''เจ้าอุปราช (บุญทวงษ์ ณ เชียงใหม่)'''<ref>สกุล ณ เชียงใหม่ ได้รับพระราชทานในรัชสมัยของเจ้าแก้วนวรัฐ แต่เพื่อความเข้าใจและชัดเจน จึงมีการเติมต่อท้ายนามในภายหลัง</ref> เป็นเจ้าอุปราชนครเชียงใหม่ในรัชสมัย[[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 7 ถือเป็นเจ้าอุปราชที่มีบทบาทสูงเทียบเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เพราะสามารถยกเลิกคำสั่งของเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ได้<ref>คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์, นาวาอากาศเอก. '''เจ้านายฝ่ายเหนือ'''. [http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html]</ref> จนมีการกล่าวว่าหากเจ้าอุปราช (บุญทวงษ์) ยังมีพระชนม์อยู่ การแทรกแซงจาก[[สยาม]]จะกระทำได้ยากยิ่ง<ref>[http://chiangmai-thailand.net/Lanna%20people%20in%20history/Intawong/Boontawong.html เจ้าอุปราชบุญทวงษ์]</ref>
 
เขาเป็นเจ้าอุปราชที่มีบทบาทสูงเทียบเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เพราะสามารถยกเลิกคำสั่งของ[[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]ได้<ref>คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์, นาวาอากาศเอก. '''เจ้านายฝ่ายเหนือ'''. [http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html]</ref> จนมีการกล่าวว่าหากเจ้าอุปราช (บุญทวงษ์) ยังมีพระชนม์อยู่ การแทรกแซงจาก[[สยาม]]จะกระทำได้ยากยิ่ง<ref>[http://chiangmai-thailand.net/Lanna%20people%20in%20history/Intawong/Boontawong.html เจ้าอุปราชบุญทวงษ์]</ref>
 
== พระประวัติ ==
'''เจ้าบุญทวงษ์''' เป็นโอรสใน[[พระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง)]] กับแม่เจ้าคำหล้า และมีศักดิ์เป็นหลานของ[[พระยาคำฟั่น]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3 มีราชอนุชาและราชขนิษฐา ร่วมราชบิดา 16 พระองค์ มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
* [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]] พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7
 
* [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]] พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7
* เจ้าอุปราชบุญทวงษ์ เจ้าอุปราชนครเชียงใหม่ -
* เจ้าราชภาติกวงศ์ น้อยเทพวัง เจ้าราชภาติกวงศ์นครเชียงใหม่
เส้น 50 ⟶ 47:
 
== กรณียกิจ ==
เจ้าบุญทวงษ์ มีบทบาทในการช่วยพระเชษฐาปฏิบัติพระภารกิจเมื่อครั้งยังมิได้ดำรงตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ กระทั่งในปี พ.ศ. 2416 พระเจ้าอินทวิชยานนท์ ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ต่อมาเจ้าหลวงได้มอบหมายให้เจ้าบุญทวงษ์ นำเครื่องบรรณาการไปถวายที่สยาม จึงได้รับพระมหากรุณาธิคุณ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น "เจ้าอุปราช" ในปี [[พ.ศ. 2416]] ภายหลังจากที่พระเจ้าอินทวิชยานนท์ ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นเจ้าหลวงแล้ว 6 เดือน<ref>[http://www.chiangmainews.co.th/chaingmai/intara.html พระเจ้าอินทวิชยานนท์]</ref>
 
ในตำแหน่งเจ้าอุปราชนั้น เจ้าบุญทวงษ์ ได้ปฏิบัติหน้าที่เสมือนเป็นเจ้าหลวงองค์ที่ 2 ปฏิบัติหน้าที่แม่ทัพในยามสงคราม เป็นผู้อำนวยการรักษาความสงบในอาณาจักรยามสงบ และเป็นหัวหน้าคณะลูกขุนตุลาการพิจารณาโทษ<ref>วงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่. 2539. '''เจ้าหลวงเชียงใหม่ : คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่</ref>
 
เจ้าอุปราชบุญทวงษ์ ถึงแก่พิราลัยกรรมในปี [[พ.ศ. 2425]]
 
== ราชตระกูล ==
เส้น 74 ⟶ 71:
| 6=
| 7=
| 8= 8. [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี สิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
| 9= 9. แม่เจ้าจันทาราชเทวี
| 10= 10. เจ้าฟ้าเมืองยางแดง