ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนชลประทานวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แก้ไขคำผิด
บรรทัด 2:
{{เก็บกวาด}}{{กล่องข้อมูล โรงเรียน|name=โรงเรียนชลประทานวิทยา|coordinates=13.8991,100.50862|image=[[ไฟล์:โลโก้โรงเรียนชลประทานวิทยา.gif|200px|ตราประจำโรงเรียนชลประทานวิทยา]]|address=|streetaddress=[[ถนนติวานนท์]] [[ปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]] 11120|city=[[นนทบุรี]] ประเทศไทย|abbr=ช.ป.ว. / CPW|establish_date=2 มิถุนายน พ.ศ. 2498
({{อายุปีและวัน|1955|6|2}})|founder=[[หม่อมหลวงชูชาติ กำภู]]|group=สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน|district=เขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2|นักเรียน=6,480 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 16 พฤษภาคม 2562)<ref>[https://cpw.ac.th/number_students.php?year_edu=2561 จำนวนนักเรียน]</ref>|language=ภาษาที่มีการเรียนการสอนในโรงเรียน
{{flagicon|THA}} [[ภาษาไทย]]<br>{{flagicon|UK}} [[ภาษาอังกฤษ]]<br>{{flagicon|China}} [[ภาษาจีน]]<br>{{flagicon|Japan}} [[ภาษาญี่ปุ่น]] (ม.4)<br>{{flagicon|Korea}} [[ภาษาเกาหลี]] (ม.4)|motto='''ศักดิ์ ศรี สามัคคี และพิริยะ'''|song=[https://www.youtube.com/watch?v=r15nvzLUn1E มาร์ชชลประทานวิทยา]|colours={{color box|#eb34a1}}{{color box|#3474eb}} [[ชมพู]]-[[สีน้ำเงิน|น้ำเงิน]]|website=[http://www.cpw.ac.th www.cpw.ac.th]|free_label2=แผนการเรียน|free_text2=แผนการเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์<br>
คณิตศาสตร์ - ภาษา<br>
บรรทัด 10:
 
]]
'''โรงเรียนชลประทานวิทยา''' เป็น[[โรงเรียนเอกชน]]ที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของ[[จังหวัดนนทบุรี]] โดยมี[[กรมชลประทาน]]เป็นเจ้าของ ตั้งอยู่เลขที่ 201 หมู่ 1 [[ถนนติวานนท์]] ตำบล[[บางตลาด]] อำเภอ[[ปากเกร็ด]] จังหวัดนนทบุรี 11120 สังกัด[[สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน|สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน]] สังกัด[[เขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2]]
โรงเรียนชลประทานวิทยา มีเนื้อที่ประมาณ 56 ไร่ มีอาคารเรียน 10 หลังและอาคารเรียนประกอบล้อมรอบสนาม[[ฟุตบอล]] และสนาม[[กรีฑา]] ผังของโรงเรียนท่านอาจารย์ประหยัด ไพทีกุล นำแบบอย่างมาจาก[[โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย]] จังหวัด[[เชียงใหม่]] ปัจจุบันโรงเรียนชลประทานวิทยามีนักเรียน 6,482 คน ชาย 3,378 คน หญิง 3,104 คน มีครู 305 คน มีห้องเรียนทั้งหมด 138 ห้องในปีการศึกษา 2551 และเพิ่มขึ้นเป็น 141 ในปีการศึกษา 2557 โดยโรงเรียนชลประทานวิทยาทำการสอนนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปิดสอน 4 [[แผนการเรียน]]คือ
 
* แผนการเรียนที่ 1 แผนการเรียน[[วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์]]
* แผนการเรียนที่ 2 แผนการเรียน[[คณิตศาสตร์ - ภาษาอังกฤษ]]
*แผนการเรียนที่ 3 แผนการเรียนตามแนวทางสสวท
*แผนการเรียนที่ 4 แผนการเรียนอุตสาหกรรมการบิน
 
ปีการศึกษา 2561 นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ เป็นผู้จัดการ และดร.นิตยา เทพอรุณรัตน์ เป็นผู้อำนวยการ
 
ปัจจุบัน โรงเรียนชลประทานวิทยาประกอบด้วยอาคารเรียนที่ทันสมัย และมีการติดตั้งอุปกรณ์ที่พร้อมสำหรับการเรียนการสอนภายในห้องเรียน และยังมีห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย ไม่ว่าจะเป็นห้องปฏิบัติการเคมี ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ ห้องปฏิบัติการชีววิทยา และห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งมีการรักษาความปลอดภัยจากกล้อง CCTV ทั่วโรงเรียน มีความร่มรื่น น่าอยู่ น่าเรียน และปลอดภัย ดังวิสัยทัศน์ของโรงเรียนชลประทานวิทยา
 
==ประวัติ==
โรงเรียนชลประทานวิทยาเปิดสอนวันแรกเมื่อวันที่ [[2 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2498]] โดยดำริของ[[หม่อมหลวงชูชาติ กำภู]] อดีตอธิบดี[[กรมชลประทาน]] และ[[รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติของไทย|รัฐมนตรีช่วยว่าการ]][[กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ]] เนื่องจากในขณะนั้น กรมชลประทานกำลังดำเนินการก่อสร้าง[[เขื่อนเจ้าพระยา]] อยู่ที่จังหวัด[[ชัยนาท]] และมีโครงการที่จะก่อสร้าง[[เขื่อนภูมิพล]]ที่จังหวัด[[ตาก]] ในการนี้จะต้องมีการย้ายหน่วยงานบางหน่วยงานของกรมชลประทานจาก[[สามเสน]]มาอยู่ที่อำเภอปากเกร็ด ทำให้ข้าราชการต้องย้ายสถานที่ทำงาน ท่านหม่อมหลวงชูชาติ กำภู มีความห่วงใยในเรื่องสถานศึกษาของบุตรหลานข้าราชการกรมชลประทาน จึงให้ท่านอาจารย์[[ประหยัด ไพทีกุล]] หัวหน้าแผนกอาณาบาลกรมชลประทานในขณะนั้น ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นเมื่อวันที่ [[20 พฤษภาคม]] พ.ศ. 2498 การจัดตั้งโรงเรียนนั้นเต็มไปด้วยปัญหา เพราะเวลานั้นโรงเรียนต่าง ๆ ได้เปิดภาคเรียนของ[[ปีการศึกษา]] 2498 ไปแล้วถึง 4 วัน (เปิดเรียนวันที่ [[16 พฤษภาคม]]) และการจัดตั้งโรงเรียนต้องขออนุญาตภายในเดือน[[กุมภาพันธ์]] โดยให้อาจารย์ประหยัด ไพทีกุลเป็นผู้จัดการโรงเรียน และอาจารย์โกศล ภาสวณิช เป็นอาจารย์ใหญ่
 
{{โครง-ส่วน}}
เส้น 27 ⟶ 29:
==รายละเอียดของอาคารเรียนในโรงเรียน ==
[[ไฟล์:ตึกชูชาติวิทโยทัย.jpg|250px|thumb|left|ตึกชูชาติวิทโยทัย หรืออาคาร 1]]
* '''อาคาร 1 อาคารชูชาติวิทโยทัย''' เป็นอาคารเรียน 2 ชั้น สร้างเมื่อ พ.ศ. 2501 อาคารนี้เป็นอาคารเรียนสำหรับนักเรียนชั้นประถม 6 แต่ในปีการศึกษา 2550 ได้เปลี่ยนห้องเรียนบางส่วนเป็นของชั้นประถม 3 และมีห้องพยาบาลและ[[งานอนามัย]] อยู่ที่ชั้นแรก และมีห้องวิชาการ ห้องอาจารย์ใหญ่อยู่ชั้นบน รวมถึงห้องเรียนชั้นประถม 6 อีก 6 ห้อง ในปัจจุบันเป็นอาคารบัญชาการ มีห้องของฝ่ายต่างๆและห้องผู้บริหาร
* '''อาคาร 2 อาคารชูชาติ อนุสรณ์''' เป็นอาคารเรียน 2 ชั้น สร้างเมื่อง พ.ศ. 2521 ปัจจุบันเป็นอาคารเรียนของชั้นประถม 6 เป็นส่วนใหญ่ และข้างๆอาคารนี้ก็จะเป็นโรงอาหาร 2 ไว้ให้นักเรียนมาซื้ออาหารรับประทานตอนกลางวันและก่อนกลับบ้าน
* '''อาคาร 3 อาคารประหยัด ไพทีกุล''' เป็นอาคารเรียน 3 ชั้น สร้างเมื่อ พ.ศ. 2530 โดยชั้นล่างสุดเป็นโรงอาหาร ชั้นที่ 2 เป็นห้องเรียนของชั้นประถม 2 และชั้น 3 เป็นห้องเรียนของชั้นประถม 3 ส่วนบริเวณด้านหน้าเป็นลานอเนกประสงค์ สำรหับจัดกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน
เส้น 40 ⟶ 42:
* '''อาคารประกอบ (อาคารดนตรี ศิลปะ และจริยธรรม)''' ปรับปรุงเมื่อ พ.ศ. 2550 เป็นอาคารประกอบ สำหรับการเรียนการสอนในวิชาดนตรีไทย - สากล นาฏศิลป์ ศิลปะ และจริยธรรมในช่วงชั้นที่ 1 - 2
* '''อาคาร 50 ปี ช.ป.ว.''' เริ่มสร้างประมาณปีการศึกษา 2547 และเปิดใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2548 เป็นอาคาร 2 ชั้น เป็นอาคารของนักเรียนในหลักสูตร English Program ด้านหน้าเป็นสนามบาสเก็ตบอล ถัดมาอีกเล็กน้อยคือสำนักปกครอง อาคารปกครองเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
* '''อาคาร 100 ปี ชูชาติอนุสรณ์''' เป็นอาคาร เรียน 6 ชั้น เริ่มก่อสร้างตั้งแต่ประมาณปีการศึกษา 2548 และเปิดใช้อาคารครั้งแรกในปีการศึกษา 2550 ในปีการศึกษา 2551 อาคารนี้ใช้ในการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในบางห้องและในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายทั้งหมด โดยมีห้องพักครูบริเวณโถงลิฟท์โดยสาร มีหอประชุมและเวทีที่ชั้นล่าง [[ห้องปฏิบัติการทางภาษา]]ของช่วงชั้นที่ 3 - 4 หน้าอาคารเป็นสนามบาสเก็ตบอล 2 สนาม สนามวอลเลย์บอล 2 สนาม สนามแบทมินตัน 2 สนาม สนาม[[ตะกร้อ]] 2 สนามและสนามฟุตซอลอีก 1 สนาม ด้านหลังอาคารเป็นลานจอดรถ โดยในอนาคตจะมีการพัฒนาและปรับปรุงอาคารนี้ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่ทันสมัยและตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนได้มากที่สุด
* '''หอประชุม 60 ปี ชูชาติกำภู''' เป็นอาคาร4ชั้น ชั้นแรกเป็นชั้นโถงใช้สำหรับประกอบการเรียนนอกสถานที่หรือทำกิจกรรม ปกติสามารถมานั่งพักผ่อนได้ ชั้นที่ 2 ประกอบด้วยห้องสมุดและมีห้องคอมพิวเตอร์ทางซ้ายและขวา ชั้นที่ 3 เป็นห้องประชุมใหญ่สำหรับจัดการประชุมหรือทำกิจกรรม ชั้นที่ 4 เป็นชั้นห้องเก็บของ อาคารนี้มีทางเดินลอยฟ้า ต่อกับ อาคารที่จอดรถ
* '''อาคาร 12 (ที่จอดรถ)''' มีไว้สำหรับจอดรถคุณครู มีทางเดินลอยฟ้าต่อกับอาคาร 100 ปี
* '''อาคาร Hangar 99''' อาคารสำหรับการเรียนการสอนของนักเรียนในสายวิทย์-คณิต และสายคณิต-อังกฤษ(ห้องเรียนพิเศษอากาศยาน)ซึ่งมีเครื่องบินและ Model เครื่องบิน
 
==ดูเพิ่ม==