ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตระกูลบุนนาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 141:
 
== เสนาบดีตระกูลบุนนาค ==
 
 
ตระกูล "บุนนาค" เป็นตระกูลเก่าแก่สืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ท่านเฉกอะหมัด พ่อค้าชาวเปอร์เซียและคณะ ได้เข้ามาทำการค้าขายและต่อมาได้รับราชการในกรมพระคลัง วงศ์เฉกอะหมัดได้สืบตระกูลต่อเนื่องกันมา ๖ ชั้น จนกระทั่งกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ. ๒๓๑๐
 
เส้น 171 ⟶ 169:
 
- สมัยรัชกาลที่ ๕ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินท่านแรกคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) บุตรสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) ท่านเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินเมื่อขณะที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระชนมายุ ๑๕ พรรษา และดำรงตำแหน่งอยู่ ๕ ปี พ้นหน้าที่โดยถึงแก่พิราลัย
 
ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินท่านที่ ๒ คือ สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรีบรมราชินีนาถ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรป ปี พ.ศ. ๒๔๕๐
เส้น 216 ⟶ 213:
 
ตำแหน่งเสนาบดี ยศบรรดาศักดิ์ขุนนางนั้นมีรายละเอียดมากมาย จะเห็นว่าบางท่านจะมีราชทินนามซ้ำๆ กัน ดังที่เคยกล่าวในตอนต้นว่า ยศ บรรดาศักดิ์ และราชทินนามอาจจะบอกตำแหน่งหน้าที่ควบคู่กันไปได้ เช่น เจ้าพระยามหาเสนา เป็นบรรดาศักดิ์และราชทินนามของตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เจ้าพระยายมราช จะมีตำแหน่งเป็นเสนาบดีกรมเมือง เจ้าพระยาธรรมาธิกรณ์เป็นเสนาบดีกรมวัง เจ้าพระยาพระคลังเป็นเสนาบดีกรมพระคลัง เจ้าพระยาพลเทพเป็นเสนาบดีกรมนา พระยาโชฎึกราชเศรษฐีเป็นเสนาบดีกรมท่า เป็นต้น
 
 
สำหรับตำแหน่งเจ้าเมือง เมื่อมีการแต่งตั้งจะมีบรรดาศักดิ์และราชทินนามปรากฏในสัญญาบัตร แต่คนส่วนมากนิยมเรียกตามชื่อเมืองที่ไปอยู่ เช่น เจ้าเมืองตาก หรือพระยาตาก เจ้าเมืองราชบุรีหรือพระยาราชบุรี เป็นต้น ในกฎหมายตราสามดวงกำหนดบรรดาศักดิ์และราชทินนาม เจ้าเมืองไว้ จะขอยกตัวอย่างเมือง/จังหวัด ที่มีขุนนางตระกูลบุนนาคไปเป็นเจ้าเมือง ได้แก่ ตำแหน่งพระยา สุรินทรฤๅชัย เจ้าเมืองเพชรบุรีซึ่งมี