ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียโดยมุสลิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 2:
{{ใช้ปีคศ|width = 300px}}
{{Infobox military conflict
| image = [[ไฟล์:IslamicConquestsIroon.png|200px]]
| caption = แผนที่เปอร์เซียและภูมิภาครอบ ๆ ก่อนการบุกครองโดยมุสลิม
| caption = Map of Persia and its surrounding regions on the eve of the Muslim invasions
| conflict = การพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียโดยมุสลิม
| partof = [[การพิชิตดินแดนโดยมุสลิม]]
| date = ค.ศ.633–654<ref>Pourshariati (2008), pp. 469</ref>
| place = [[เมโสโปเตเมีย]], [[คอเคซัส]], [[เปอร์เซ๊ยเปอร์เซีย]] และ[[คุรอซาน]]
| result = ฝ่ายรัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีนชนะ
* [[การล่มสลายของจักรวรรดิแซสซานิด|จักรวรรดิแซสซานิด]]ล่มสลาย
บรรทัด 27:
'''การพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียของมุสลิม''' ({{lang-en|Muslim conquest of Persia}}) เป็นเหตุการณ์ที่นำไปสู่จุดจบของ[[จักรวรรดิซาสซานิยะห์]]ในปี [[ค.ศ. 644]], และเป็นที่มาของการล่มสลายของราชวงศ์ซาสซานิยะห์ ในปี [[ค.ศ. 651]] และการสิ้นสุดของ[[ศาสนาโซโรอัสเตอร์]] ใน[[เปอร์เซีย]] จักรวรรดิซาสซานิยะห์ถูกรุกรานครั้งแรกโดย[[มุสลิม]] ในบริเวณที่ปัจจุบันคือ[[ประเทศอิรัก]]ในปี [[ค.ศ. 633]] ในสมัย[[คาลิด อิบุน อัล-วาลิด]] (خالد بن الوليد‎ - Khalid ibn al-Walid) ซึ่งเป็นการพิชิตอิรักของมุสลิม หลังจากการย้ายคาลิดไปยังบริเวณแนวโรมันใน[[ลว้าน]] มุสลิมก็เสียอิรักคืนแก่การกลับมาโจมตีของ[[เปอร์เซีย]] การรุกรานอิรักครั้งที่สองในปี [[ค.ศ. 636]] ภายใต้การนำของ[[ซะอัด อิบุน อบี วัคคัซ]] (Sa`d ibn Abi Waqqas) ซึ่งหลังจากชัยชนะในยุทธการสำคัญ[[ยุทธการคาดิซิยะห์]] ([[:en:Battle of al-Qādisiyyah]]) อิทธิพลการปกครองทางตะวันตกของเปอร์เซียของซาสซานิยะห์ก็สิ้นสุดลง [[เทือกเขาซาโกรส]] ([[:en:Zagros mountains]]) กลายเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่าง[[จักรวรรดิกาหลิปรอชิดีน]] และจักรวรรดิซาสซานิยะห์
 
การได้รับชัยชนะในช่วงระยะเวลาอันสั้นในเปอร์เซียเป็นการรณรงค์ทางทหารตามที่วางแผนไว้เป็นอย่างดีโดยกาหลิบ[[อุมัร]]ใน[[มาดินาห์อัลมะดีนะฮ์]] (MadinahMedina) ซึ่งอยู่ห่างไกลจากสมรภูมิในเปอร์เซียหลายพันกิโลเมตรเป็นชัยชนะครั้งยิ่งใหญ่ที่สร้างชื่อเสียงให้แก่[[อุมัร]]ว่าเป็นนักยุทธศาสตร์และนักการเมืองผู้มีความสามารถที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์<ref> The Muslim Conquest of Persia By A.I. Akram. Ch: 1 ISBN 0195977130, 9780195977134</ref>
 
นักประวัติศาสตร์มุสลิมส่วนใหญ่ให้ความเห็นกันมาเป็นเวลานานแล้วว่าเปอร์เซียที่เกือบจะถูกรุกรานโดยอาหรับเป็นสังคมที่อยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรมและพร้อมอยู่แล้วที่จะรับการรุกรานของอาหรับด้วยความเต็มใจ แต่นักเขียนผู้อื่นผู้ใช้หลักฐานข้อมูลของอาหรับในการค้นคว้าทั้งหมด ที่แสดงว่าตรงกันข้ามกับความเชื่อดังกล่าวชาวอิหร่านต่อสู้การรุกรานของชาวอาหรับอย่างเหนียวแน่นอยู่เป็นเวลานานก่อนที่จะพ่ายแพ้<ref>Milani A. ''Lost Wisdom''. 2004 ISBN 0934211906 p.15</ref> นอกจากนั้นกลุ่มหลังนี้ก็ยังกล่าวว่าหลังจากการได้รับชัยชนะทางการเมืองแล้ว เปอร์เซียก็ยังเริ่มสงครามทางวัฒนธรรมและประสบความสำเร็จในการมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอาหรับ<ref>Mohammad Mohammadi Malayeri, ''Tarikh-i Farhang-i Iran'' (Iran's Cultural History). 4 volumes. Tehran. 1982.</ref><ref>{{cite book|author=ʻAbd al-Ḥusayn Zarrīnʹkūb|title=Dū qarn-i sukūt : sarguz̲asht-i ḥavādis̲ va awz̤āʻ-i tārīkhī dar dū qarn-i avval-i Islām (Two Centuries of Silence)|location=Tihrān|publisher=Sukhan|year=1379 (2000)|id=OCLC: 46632917, ISBN 964-5983-33-6}}</ref>
บรรทัด 42:
* Zarrin’kub, Abd al-Husayn — ''Ruzgaran : tarikh-i Iran az aghz ta saqut saltnat Pahlvi'', Sukhan, 1999. ISBN 964-6961-11-8
* [http://www.iranica.com/articles/search/searchpdf.isc?ReqStrPDFPath=/home1/iranica/articles/v2_articles/arab/arab_conquest_iran&OptStrLogFile=/home/iranica/public_html/logs/pdfdownload.html Arab Conquest of Iran], pp. 203–10, Encyclopaedia Iranica.
 
 
{{เรียงลำดับ|การพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียของมุสลิม}}
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อิหร่าน]]
[[หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับอิหร่าน]]
 
{{โครงประวัติศาสตร์}}