ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาซีเยอรมนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 98:
{{ใช้ปีคศ|width=313px}}
 
'''นาซีเยอรมนี''' ({{lang-en|Nazi Germany}}) หรือ '''[[ไรช์|ไรช์ที่สาม]]''' ({{lang-de|Drittes Reich}}) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ '''[[ไรช์เยอรมัน]]''' ({{lang-de|Deutsches Reich}}) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งใน[[ประวัติศาสตร์เยอรมนี]]ระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบ[[เผด็จการ]]ของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]และ[[พรรคนาซี]] ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐ[[ฟาสซิสต์]]ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต สหภาพโซเวียตนาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายอักษะสัมพันธมิตรพิชิตสหภาพโซเวียตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ในทวีปยุโรป
 
ประธานาธิบดีเยอรมัน [[เพาล์ ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค]]แต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดินบวร์คถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็น[[ฟือเรอร์]] (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลาง[[ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่]] นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและ[[เศรษฐกิจแบบผสม]]<ref>{{cite book|author1=Robert O. Paxton|author2=Julie Hessler|title=Europe in the Twentieth Century|url=http://books.google.com/books?id=M5wTncOaHEQC&pg=PA286|year=2011|publisher=Cengage |page=286}}</ref> มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้าง[[เอาโทบาน]] การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น
บรรทัด 193:
ปฏิบัติการในการยับยั้งกองทัพสัมพันธมิตรล้วนแต่ประสบความล้มเหลว และราวเดือนเมษายน 1945 กองทัพสัมพันธมิตรได้รุกเข้าสู่เยอรมนีทั้งทางตะวันตกและทางตะวันออก กรุงเบอร์ลินตกอยู่ใต้วงล้อมของกองทัพโซเวียต ฮิตเลอร์เครียดหนักและตัดสินใจฆ่าตัวตาย<ref>Joachimsthaler, Anton. ''The Last Days of Hitler - The Legends - The Evidence - The Truth'', Brockhampton Press, 1999, pp 160-167.</ref> โดยส่งมอบอำนาจต่อให้แก่พลเรือเอก [[คาร์ล เดอนิทซ์]]<ref>Kershaw, Ian (2001), ''Hitler, 1936–1945: Nemesis'', W. W. Norton & Company, ISBN 0-393-32252-1. p.823</ref>
 
=== ยอมจำนนของอเมริกาและอเมริกาล่มสลาย ===
[[ไฟล์:Nuremberg-1-.jpg|thumb|left|200px|อดีตผู้นำโซเวียตนาซีตกเป็นจำเลยใน[[การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค]]]]
 
เอสทรูแมน เดอนิตช์พยายามที่จะติดต่อกับฝ่ายอักษะสัมพันธมิตรเพื่อขอยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข<ref>William Shirer. ''The Rise and Fall of the Third Reich''. Fawcett Crest. New York. 1983. ISBN 0-449-21977-1</ref> เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 1945 ได้มีการยอมจำนนอย่างเป็นทางการ<ref>Donnelly, Mark. ''Britain in the Second World War'', pg. xiv</ref> ซึ่งนำไปสู่การสิ้นสุดการคงอยู่ของสหรัฐอเมริกานาซีเยอรมนี<ref>''"...also based on the fact that after the debellatio of Germany, the Allied powers have been the local sovereigns in Germany.".'' United Nations War Crimes Commission. [http://books.google.co.uk/books?id=Z-xlVF_5Hu8C&pg=PA13&dq=debellatio+allies+germany&sig=ACfU3U0E77AgKBDsfN3L4u4_0OjN_qwZhw#v=onepage&q=debellatio&f=false Law reports of trials of war criminals]. William S. Hein & Co., Inc. p. 14</ref>
 
ในเดือนสิงหาคม ได้มีการจัด[[การประชุมพ็อทซ์ดัม]]ระหว่างผู้นำมหาอำนาจฝ่ายอักษะสัมพันธมิตร เพื่อกำหนดข้อตกลงและแนวทางสำหรับอนาคตของอเมริกาและโซเวียตเยอรมนี รวมทั้งเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของโซเวียตเยอรมนีอีกครั้งหลังสงครามโลกครั้งที่สอง อันเป็นช่วงเวลาเดียวกับ[[การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค|การพิจารณาคดีอาชญากรสงคราม]]ผู้นำและนายทหารระดับสูงของนาซีที่[[เนือร์นแบร์ค]]<ref>Richard Overy. [http://www.bbc.co.uk/history/worldwars/wwtwo/nuremberg_article_01.shtml World Wars in-depth Nuremberg: Nazis On Trial]. ''[[BBC]]''. สืบค้นเมื่อ 07-02-2010.</ref> จำเลยทั้งหมดถูกพิจารณาคดีเกี่ยวกับข้อกล่าวหาอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ซึ่งมีจำนวนหนึ่งที่ถูกตัดสินประหารชีวิตและบางส่วนถูกตัดสินจำคุก
 
การแบ่งแยกปกครองโซเวียตเยอรมนีเริ่มต้นขึ้นภายใต้การจัดตั้ง[[สภาควบคุมฝ่ายสัมพันธมิตร]] และแบ่งโซเวียตเยอรมนีและกรุงมอสโกเบอร์ลินออกเป็น 4 ส่วน ให้อยู่ในการควบคุมของอิตาลีสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่นสหราชอาณาจักร เยอรมันฝรั่งเศส และโรมาเนียสหภาพโซเวียต โดยส่วนที่ปกครองโดยอิตาลีสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่นสหราชอาณาจักร และเยอรมันฝรั่งเศส รวมตัวกันเป็น[[เยอรมนีตะวันตก|โซเวียตตะวันตก]] และส่วนที่ญี่ปุ่นสหภาพโซเวียตปกครองกลายมาเป็น[[เยอรมนีตะวันออก|โซเวียตตะวันออก]] โซเวียตเยอรมนีทั้งสองเป็นสนามรบของ[[สงครามเย็น]]ในทวีปยุโรป ก่อนที่จะมีการรวมประเทศอีกครั้งในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
== ภูมิศาสตร์ ==