ย้อนการแก้ไขที่ 8450402 สร้างโดย Kritsnp (พูดคุย)
แอนเดอร์สัน (คุย | ส่วนร่วม) ไม่มีความย่อการแก้ไข |
พุทธามาตย์ (คุย | ส่วนร่วม) ป้ายระบุ: ทำกลับ |
||
{{Infobox Person
| honorific prefix = หม่อม
| name = | image = หม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา01.jpg
| caption = ภาพนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายให้ด้วยฝีพระหัตถ์และทรงตั้งไว้ในห้องพระบรรทม
| footnotes =
}}
'''หม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา''' (นามเดิม '''เจ้าศรี ณ น่าน''', 19 มีนาคม พ.ศ. 2431 - 25 กันยายน พ.ศ. 2521)
== ประวัติ ==
เจ้าศรีพรหมาเกิดเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2431 มีพระนามเดิมว่า ''เจ้าศรี'' เป็นพระธิดาใน[[พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช]] พระเจ้านครเมืองน่าน กับหม่อมศรีคำ หญิงเชลยศึกชาว[[เวียงจันทน์]] มีเจ้าพี่น้องร่วมมารดาเดียวกัน 5 องค์ เป็นชาย 3 องค์ (ถึงแก่กรรมหมด) หญิง 2 องค์ คือ เจ้าบัวแก้ว ณ น่าน และเจ้าศรีพรหมา ณ น่าน (ซึ่งท่านเป็นองค์สุดท้อง)
[[พระยามหิบาลบริรักษ์ (สวัสดิ์ ภูมิรักษ์)]] และคุณหญิงอุ๊น ภริยา ได้ทูลขอเจ้าศรีพรหมา ณ น่าน กับพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชเป็นธิดาบุญธรรมเมื่ออายุได้ 3 ปีเศษ ตามบิดาและมารดาบุญธรรมไป
ปี พ.ศ. 2442 พระยามหิบาลฯ และภริยา ต้องเดินทางไปรับราชการที่[[ประเทศรัสเซีย]] จึงต้องถวายตัวเจ้าศรีพรหมา ณ น่าน ไว้ในพระอุปการะ[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง|สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ]]
มีเรื่องเล่าว่า "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรเจ้าศรีพรหมา ณ น่าน ทรงพึงพอพระราชหฤทัย ถึงกับทรงออกพระโอษฐ์ ตรัสขอเจ้าศรีพรหมาด้วยพระองค์เอง ให้รับราชการในตำแหน่ง[[เจ้าจอม]] เจ้าศรีพรหมาได้กราบบังคมทูลพระกรุณาปฏิเสธเป็น[[ภาษาอังกฤษ]]ว่า ท่านเคารพพระองค์ท่าน ในฐานะพระเจ้าอยู่หัว แต่มิได้รักใคร่พระองค์ในทางชู้สาว"<ref>[http://www.romanticgals.com/modules.php?name=News&file=print&sid=18 เจ้าศรีพรหมา]</ref> ในกราบบังคมทูลปฏิเสธ โดยเลี่ยงไม่ใช้[[ภาษาไทย]] แต่กลับใช้ภาษาอังกฤษ" เป็นการง่ายต่อการกราบบังคมทูลปฏิเสธ และไม่ทำให้ระคายเคืองเบื้องพระยุคลบาท รัชกาลที่ 5 ก็ทรงเมตตาให้เป็นไปตามอัธยาศัย เรื่องความกล้าของเจ้าศรีพรหมาครั้งนี้ และพระมหากรุณาของรัชกาลที่ 5 ที่มีต่อเจ้าศรีพรหมาเสมอมา มิทรงได้ถือโทษ ยังพระราชทานเมตตาต่อเจ้าศรีพรหมาเสมอมาตราบจนเสด็จสวรรคต
ใน
ทั้งสองท่านได้ออกหนังสือ “กสิกร” มีนักวิชาการ
ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
แต่ต่อมาเกิดเหตุการณ์ทางการเมือง ทำให้หม่อมเจ้าสิทธิพรต้องออกจากราชการ และเกิด[[กบฏบวรเดช]] ซึ่งพระเชษฐา
ในรัฐบาลของนาย[[ควง อภัยวงศ์]] หลังจากหม่อมเจ้าสิทธิพรพ้นโทษแล้ว ก็ได้ทรงเข้ารับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร ถึง 2 สมัย หม่อมศรีพรหมา
หม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา
== หนังสืออัตชีวประวัติ ==
ได้มีการพิมพ์หนังสือ "อัตชีวประวัติ หม่อมศรีพรหมา กฤดากร" พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2522 โดยการจัดทำของ
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ต.จ.ฝ่ายใน|2459}}<ref>ราชกิจานุเบกษา [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2459/D/2193.PDF พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า] เล่ม 33 หน้า 2198 วันที่ 19 พฤศจิกายน 2459 ลำดับที่ 3</ref>
== อ้างอิง ==
[[หมวดหมู่:ราชสกุลกฤดากร]]
[[หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายลาว]]
[[หมวดหมู่:สกุล ณ น่าน]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดน่าน]]
|