ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังฆกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mahatee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
GeonuchBot (คุย | ส่วนร่วม)
change cats
บรรทัด 5:
 
สังฆกรรม ตามพระธรรมวินัย มี 4 อย่าง คือ 1.[[อปโลกนกรรม]] การปรึกษาหารือ 2.[[ญัตติ]] สวดเผดียงสงฆ์(การประชุมที่มีการสวดตั้งเรื่องที่จะประชุม) เช่นการสวดพระ[[ปาฏิโมกข์]] 3.ญัตติทุติย[[กรรมวาจา]] สวดตั้งญัตติ และสวดอนุสาวนา (ถามความเห็นที่ประชุม)เช่น การสวด[[กฐิน]]4 .ญัตติจตุตถกรรมวาจา สวดตั้งญัตติและสวดกรรมวาจาถงสามครั้ง เช่น การให้[[อุปสมบท]]
 
 
คนทั่วไปนำเอาคำ “สังฆกรรม” มาใช้ในความหมายว่า “การร่วมกันกระทำกิจกรรม” กล่าวเข้าใจง่ายๆก็คือการที่ไม่มีใครคบค้าสมาคมด้วยหรือไม่มีใครอยากร่วมสังสรรค์ด้วย เรียกว่า “ไม่ร่วมสังฆกรรม” ถ้าเป็นภาษาอังกฤษทางวิชาการด้านสังคมและเศรษฐกิจทั่วๆ ไปจะหมายถึง Boycott ซึ่งภาษาไทยอีกคำหนึ่งแปลว่า “[[คว่ำบาตร]]” ซึ่งก็มีที่มาจากเรื่องทางพุทธศาสนาเช่นกัน
เส้น 11 ⟶ 10:
== อ้างอิง ==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''''' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๔๘
 
{{โครงพระพุทธศาสนา}}
 
[[หมวดหมู่:พระวินัยบัญญัติ]]
[[หมวดหมู่:พระสงฆ์]]
[[หมวดหมู่:สังฆกรรม]]
[[หมวดหมู่:อภิธานคำศัพท์ศาสนาพุทธ]]
{{โครงพระพุทธศาสนา}}