ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภวังคจิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BallWarapol (คุย | ส่วนร่วม)
อตีตภวังค์ ภวังคจลน ภวังคุปัจเฉทะ ล้วนกระทบอตีตารมณ์, ปสาทะกระทบอารมณ์ใหม่
GeonuchBot (คุย | ส่วนร่วม)
change cats
 
บรรทัด 2:
'''ภวังคจิต''' ภวังคะ หรือ ภะ-วัง-คะ ภว+องฺคะ แปลตามพยัญชนะว่า "องค์ของภพ" มักใช้รวมกับจิต เป็นภวังคจิต ในทาง[[พระพุทธศาสนา]] ถือว่า [[จิต]]มีลักษณะเกิดดับอยู่ตลอดเวลา ซึ่งการสืบต่อ[[สันตติ]]ของจิต ย่อมอาศัยการถ่ายทอดข้อมูลจากภวังคจิตจิตดวงเดิม ไปสู่จิตดวงใหม่ ด้วยกระบวนการของการทำงานของภวังคจิต เพราะเหตุว่าภวังคจิตเป็นเหตุให้สร้างจิตดวงใหม่ตลอดเวลาก่อนจิตดวงเก่าจะดับไป จึงชื่อว่าเป็นเหตุแห่ง "ภพ" หรือเป็นเหตุสร้าง"ภพ"
 
จิต ในทางศาสนาพุทธแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ 1.[[วิถีจิต]] จิตสำนึก 2.ภวังคจิต จิตใต้สำนึก
 
'''ภวังคจิต''' คือจิตใต้สำนึกในทางศาสนาพุทธหมายถึงเป็นกระบวนการทำงานแบบอัตตโนมัติของจิต จิตใต้สำนึกในความหมายของภวังคจิตนี้จึงอาจแตกต่างจากทาง[[จิตวิทยา]]
 
'''ภวังคจิต''' เป็น วิบากจิต คือ จิตใต้สำนึกส่วนลึกที่สุดของจิตเป็นที่สั่งสมอารมณ์จนกลายเป็นอุปนิสัย
 
'''ภวังคจิต''' จะเกิดคั่นระหว่างวิถีจิตในแต่ละวาระ ทำหน้าที่สืบต่อและดำรงภพชาติ
 
'''ภวังคจิต''' จะเกิดขึ้นเมื่อวิถีจิตดับ และเมื่อเกิดวิถีจิตภวังคจิตจะดับลง เมื่อวิถีจิตดับลงภวังคจิตจะเกิดขึ้นมาใหม่ ถ้าไม่มีภวังคจิต พอขาดวิถีจิต จิตจะไม่มีการสืบต่อสันตติก็เท่ากับสิ้นชีวิต
บรรทัด 22:
* ''พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์'', [[พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)]]
 
[[หมวดหมู่:อภิธานคำศัพท์ศาสนาพุทธ]]