ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไกรทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 17:
'''ไกรทอง''' เป็น[[นิทานพื้นบ้าน]][[ภาคกลาง]]ของไทย ที่มีตัวเอกชื่อ ''ไกรทอง'' เล่าไว้หลายสำนวนด้วยกัน ภายหลังในสมัย[[รัชกาลที่ 2]] ได้ทรงพระราชนิพนธ์เป็น[[บทละคร]]สำหรับ[[ละครนอก]] และได้รับความนิยม ยกย่องเป็นฉบับมาตรฐานฉบับหนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องราวความรักเกี่ยวกับคนและจระเข้
 
== เรื่องย่อ ==
[[ไฟล์:วัดอัมพวันเจติยาราม จังหวัดสมุทรสงคราม 07.JPG|thumb|250px|ภาพการชิงตัวตะเภาแก้ว และตะเภาทอง ของชาละวัน ที่[[วัดอัมพวันเจติยาราม]]]]
 
บรรทัด 37:
 
ใจของไกรทองกลับนึกถึงนางวิมาลา จึงไปหาอยู่กินด้วย โดยทำพิธีทำให้นางยังคงเป็นมนุษย์แม้ออกนอกถ้ำทอง นางตะเภาแก้วและนางตะเภาทอง จับได้ว่า สามีไปมาหาสู่ นางจระเข้จึงไปหาเรื่องกับนางในร่างมนุษย์จนนางวิมาลาทนไม่ไหวกลับ ร่างเป็นจระเข้และไกรทองต้องออกไปห้ามไม่ให้เมียตีกันและอำลาจากนางวิมาลาด้วยใจอาวรณ์ สุดท้ายไกรทองก็ปรับความเข้าใจได้กับทั้งสองฝ่าย ทั้งมนุษย์และจระเข้อยู่อย่างสันติ
••••••••••••••• จบ•••••••••••••
 
== ตำนานจระเข้ชาละวัน ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไกรทอง"