ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความหลงตนเอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
|salign= right
}}ตัวแปรบุคลิกภาพของนาร์ซิสซิสต์แบ่งเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้ ความเป็นผู้นำ/การมีอำนาจ ความเหนือกว่า/ความทะนงตน ความหมกมุ่นอยู่แต่ตนเอง/การยกยอตนเอง และการหาผลประโยชน์/การมีสิทธิ์<ref>{{Cite journal |last1 = Horton |first1 = R. S. |last2 = Bleau |first2 = G. |last3 = Drwecki |first3 = B. |year = 2006 |title = Parenting Narcissus: What Are the Links Between Parenting and Narcissism? |url = http://persweb.wabash.edu/facstaff/hortonr/pubs/Horton%20et%20al.%20(2006).pdf |journal = [[Journal of Personality]] |volume = 74 |number = 2 |pages = 345–76 |doi = 10.1111/j.1467-6494.2005.00378.x|pmid = 16529580 |citeseerx = 10.1.1.526.7237 }} See p.&nbsp;347.</ref>
 
ซึ่งเกณฑ์เหล่านี้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ อันเนื่องจากมีคนเชื่อว่าพวกทำไปเพราะความเจตนาตั้งใจ (หรือ "แสร้งทำ")<ref>{{cite book|url=https://books.google.com/books/about/Readings_in_Philosophy_of_Psychology.html?id=cgsOAAAAQAAJ|title=Readings in Philosophy of Psychology|first=Ned Joel|last=Block|date=22 October 1980|publisher=Methuen|accessdate=22 October 2017|via=Google Books|isbn=9780416742008}}</ref> กระนั้นจึงอยากจะกล่าวว่า พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สังเกตได้ง่าย แต่เจตนาความตั้งใจมิใช่เช่นนั้น ดังนั้นการจัดหมวดหมู่เช่นนี้จึงต้องใช้สมมติฐานที่ผ่านการทดสอบแล้วก่อนที่จะถูกยืนยันว่าเป็นความจริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพิจารณาคำอธิบายหลายอย่างสามารถทำให้หาเหตุผลได้ว่าทำไมคนถึงแสดงพฤติกรรมเหล่านี้ออกมา
 
=== 7 พฤติกรรมร้ายแรงของความหลงตนเอง ===
 
จิตแพทย์แฮตช์คิสส์และ[[James F. Masterson|เจมส์ เอฟ. มาสเตอร์สัน]] ระบุสิ่งที่พวกเขาเรียกว่า 7 พฤติกรรมร้ายแรงของความหลงตนเอง ไว้ดังต่อไปนี้<ref>Hotchkiss, Sandy & [[James F. Masterson|Masterson, James F.]] Why Is It Always About You?: The Seven Deadly Sins of Narcissism (2003)</ref>
# [[ความอัปยศ|ความไม่ละอายใจ]] (Shamelessness): นาร์ซิสซิสมักภูมิใจในความไม่ละอายใจอย่างเปิดเผย คือ พวกเขาไม่ผูกอารมณ์ไปกับความต้องการและความปราถนาของผู้อื่น นาร์ซิสซิสต์เกลียดความอับอายขายหน้า เพราะมันหมายถึงพวกเขาไม่สมบูรณ์แบบและต้องเปลี่ยนแปลง นาร์ซิสซิสต์ชอบความรู้สึกผิดมากกว่าความอับอาย เพราะความรู้สึกผิดสามารถทำให้พวกเขาแยกระหว่างการกระทำกับเจตนาออกจากกันได้ ตัวอย่างเช่น ถึงแม้การกระทำอาจจะผิด แต่ทำไปเพราะมีเจตนาที่ดี
# [[ความคิดเชิงไสยศาสตร์]] (Magical thinking): นาซิสซิสต์เห็นตนเองเป็นคนที่สมบูรณ์แบบโดยใช้การบิดเบือนและสร้างสิ่งลวงตาที่เรียกว่า[[ความคิดเชิงไสยศาสตร์]] อีกทั้งพวกเขายังใช้ใน[[Psychological projection|การป้องกันตน]]เพื่อ "โยน" ความอับอายขายหน้าไปสู่ผู้อื่น
# [[ความทะนง]]ตน (Arrogance): นาร์ซิสซิสต์ที่รู้สึกว่ากำลังสูญเสียความสำคัญ อาจ "เพิ่มมั่นใจในความคิดที่ว่าตนเองสำคัญ" โดยการกดผู้อื่นให้ต่ำลง ลดคุณค่าของผู้อื่น หรือทำให้ผู้อื่นอับอายขายหน้า
# [[ความอิจฉาริษยา]] (Envy): นาร์ซิสซิสต์อาจคงไว้ซึ่งความคิดที่ว่าตนเองตนเหนือกว่าคนผู้อื่นได้ โดยการดูถูกเหยียดหยามผู้อื่นหรือดูถูกความสำเสร็จของผู้อื่น
# [[การมีสิทธิ์]] (Entitlement): นาซิสซิสต์ยึดถือความคาดหวังซึ่งไม่สมเหตุสมที่ว่าผู้อื่นจะปฏิบัติตัวเป็นอย่างดีกับพวกเขาและเชื่อฟังทุกสิ่งอย่าง เพราะพวกเขาคิดว่าพวกเขานั้นพิเศษ ซึ่งถ้าหากใครไม่ปฏิบัติตามจะต้องถูกตอกกลับด้วยความเหนือกว่าของพวกเขาและจะถือว่าเป็นบุคคล "ที่สร้างปัญหา" หรือ "หัวแข็ง" อีกทั้งการต่อต้านจะเป็นการทำให้พวกเขาเสียความมั่นใจ อันก่อให้เกิดบาดแผลจากความหลงตนเอง (narcissistic injury) จนกลายเป็น[[การคลั่งจากความหลงตนเอง]] (narcissistic rage) ในที่สุด
# การหาผลประโชยน์ (Exploitation): สามารถมาได้ในหลายรูปแบบ แต่มักจะเกี่ยวข้องกับการหาผลประโยชน์จากผู้อื่นโดยที่ไม่คำนึงถึงความรู้สึกหรือความสนใจของคนเหล่านั้น ซึ่งผู้นั้นมักตกอยู่ในตำแหน่งที่ต้องยอมจำนนเนื่องมาจากเป็นการยากที่จะต่อต้าน ทำให้ในบางครั้งผู้จำนนต้องยอมเพียงแค่การแสร้งทำ การหาผลประโยชน์นี้อาจทำให้ความสัมพันธ์ไม่ยืนยาวและจบไปอย่างรวดเร็ว
# [[ขอบเขตการปฏิบัติตน|การไม่รู้ขอบเขตการปฏิบัติตน]] (Bad boundaries): นาร์ซิสซิสต์ไม่รู้ถึงขอบเขตในการการกระทำของตน ทำให้ผู้อื่นตีตัวออกห่างและไม่ปฏิสัมพันธ์กับพวกเขา ใครก็ตามที่จัดหา[[การสิ่งสนองความหลงตนเอง]] (narcissistic supply) แก่นาร์ซิสซิสต์จะถูกปฏิบัติตนเป็นเสมือนส่วนหนึ่งของพวกเขาและถูกคาดหวังให้เป็นไปตามความคาดหวังของพวกเขา ภายในจิตใจของนาร์ซิสซิสนั้นไม่มีขอบเขตการปฏิบัติตัวระหว่างตนเองและผู้อื่น
 
== เชิงอรรถ ==