ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิโชวะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lady win (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 50:
 
== พระราชโอรส-ธิดา ==
[[ไฟล์:403px-Emperor Hirohito and empress Kojun of japan.jpg|thumb|185px|เจ้าชายฮิโระฮิโตะและเจ้าหญิงนะงะโกะนางาโกะ ในช่วงพิธีอภิเษกสมรส]]
เจ้าชายโยะชิฮิโตะได้อภิเษกสมรสกับ [[สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุนนีโคจุง|เจ้าหญิงนะงะนางาโกะแห่งคุนิ]] พระธิดาองค์โตในเจ้าชายคุนิ คุนิโยะชิ ซึ่งภายหลังบรมราชาภิเษก ก็ขึ้นเป็น "สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง" เมื่อวันที่ [[26 มกราคม]] [[พ.ศ. 2467]] (ค.ศ. 1924) และมีพระราชโอรสด้วยกัน 2 พระองค์ และพระราชธิดา 5 พระองค์
 
* '''[[ชิเงะโกะ ฮิงะชิกุนิ|เจ้าหญิงชิเงะโกะ เจ้าเทะรุ]]''' ({{ญี่ปุ่น|照宮成子|เทะรุ-โนะ-มิยะ ชิเงโกะ}}) ประสูติเมื่อวันที่ [[6 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2468]] เสกสมรสกับ[[เจ้าชายโมริฮิโตะ ฮิงะชิกุนิ]] ต่อมาพระสวามีของเจ้าหญิงชิเงโกะได้ถูกสหรัฐอเมริกาถอดพระยศเป็นสามัญชน เจ้าหญิงชิเงโกะจึงเป็น "นางชิเงะโกะ ฮิงะชิกุนิ" ({{ญี่ปุ่น|東久邇成子|Higashikuni Shigeko}}) มีพระโอรส-ธิดา 5 พระองค์ และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ [[23 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2504]]
บรรทัด 62:
 
== ขึ้นครองราชสมบัติ ==
[[ไฟล์:Emperor Showa.jpg|thumb|180px|left|upright|สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ ครั้นเสด็จขึ้นครองราชย์]]
ภายหลังการสวรรคตของพระราชบิดา [[จักรพรรดิไทโช]] เจ้าชายฮิโระฮิโตะจึงได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ ในนามรัชสมัยใหม่ว่า '''[[ยุคโชวะ|โชวะ]]''' ที่หมายถึงสันติภาพอันส่องสว่าง ซึ่งภายหลังจากการสวรรคตของพระราชบิดาไม่นาน จักรพรรดิโยะชิฮิโตะถูกออกพระนามเป็น "จักรพรรดิไทโช"
 
บรรทัด 69:
 
== เหตุการณ์ต้นรัชสมัย ==
[[ไฟล์:Showa emperor smiles.jpg|upright|thumb||สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ ในปี 2478]]
ตอนต้นรัชสมัยโชวะนั้น เป็นยุคสมัยที่ญี่ปุ่น กำลังประสบกับ[[วิกฤตการณ์การเงินโชวะ|วิกฤตการณ์การเงิน]] ในขณะที่อำนาจของกองทัพก็มีมากขึ้นภายในรัฐบาล ด้วยการแทรกแซงทั้งวิธีการตามกฎหมายและนอกกฎหมาย กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นได้กุมอำนาจทางการเมืองอย่างเด็ดขาดมาตั้งแต่ พ.ศ. 2443 ซึ่งระหว่างปี พ.ศ. 2464-2487 ก็มีอุบัติเหตุทางการเมืองมากถึง 64 ครั้ง
 
=== กบฏ 26 กุมภาฯ ===
9 มกราคม พ.ศ. 2475 สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ รอดจากการลอบสังหารอย่างหวุดหวิด จากการขว้างระเบิดมือของ ''ลี บงชาง'' นักเคลื่อนไหวเพื่อ[[ปลดแอก]]เกาหลี ในกรุงโตเกียว หรือที่เรียกกันว่า [[เหตุการณ์ซะกุระดะมง]] อีกกรณีที่น่าสังเกตคือ[[การลอบสังหาร]][[นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น|นายกรัฐมนตรี]] [[อินุไก สึโยะชิ]] โดยทหารเรือระดับล่างในปีเดียวกัน เหตุการณ์นี้เองตามมาด้วยการที่สี่ปีต่อมา กลุ่มนายทหารรักษาพระองค์ระดับล่างที่มีแนวคิดแบบชาตินิยม หรือ ''[[โคโดฮะ]]'' ไม่พอใจเหล่านายทหารและเจ้าหน้าที่ระดับสูงในรัฐบาล ในหลายๆ เรื่อง อาทิ การทุจริตในรัฐบาล ผลประโยชน์แก่เหล่าพวกพ้อง มีความพยายามทำ[[รัฐประหาร]] ในปลายเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 ซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม [[เหตุการณ์ 26 กุมภาพันธ์]]<ref>Mikiso Hane, ''Emperor Hirohito and His Chief Aide-de-camp, The Honjō Diary'', 1983; ''Honjō Nikki'', Hara Shobō, 1975</ref>
 
การก่อกบฏครั้งนี้ได้สร้างความสูญเสียเป็นอย่างมาก นักการเมือง, เจ้าหน้าที่, และนายทหารระดับสูงหลายคนถูกฆ่าตาย มีการบุกทำลายสถานที่ราชการหลายแห่งในใจกลางกรุงโตเกียว การก่อกบฏครั้งนี้ ฝ่ายกบฏอ้างว่าเป็นการต่อสู้ในนามของพระจักรพรรดิ เมื่อจักรพรรดิทรงทราบว่ามีกลุ่มทหารเลือดใหม่ก่อกบฏ ทรงกำชับรัฐมนตรีกลาโหมอย่างเฉียบขาดว่า ''"เราให้เวลาท่านหนึ่งชั่วโมงในการปราบกบฏ"'' ผลปรากฏว่า รัฐบาลล้มเหลวในการปราบกบฏ วันต่อมาทรงรับสั่งว่า ''"ฉัน! ตัวฉันนี่แหล่ะ จะนำกองโคะโนะเอะ(กองราชองค์รักษ์)และปราบพวกเขาเอง"''<ref>Peter Wetzler, Hirohito and War, p. 188</ref> กลุ่มกบฏได้บุกเข้ามายัง[[พระราชวังหลวงโตเกียว|พระราชวังหลวง]]เพื่อต้องการที่จะอ่านสาสน์ต่อสมเด็จพระจักรพรรดิเพื่อให้จักรพรรดิรับรองสถานะของกลุ่มทหารที่ก่อการกบฏ จักรพรรดิฮิโระฮิโตะมีพระราชดำรัสต่อกลุ่มทหารเหล่านั้นว่า ''"พวกเจ้ากล้าดีอย่างไรที่เข้ามาในนี้ ไม่รู้หรือว่าฉันเป็นจักรพรรดิของพวกเจ้า"''<ref>Edwin Hoyt, supra note, p.101</ref>
บรรทัด 81:
== สงครามโลกครั้งที่สอง ==
{{ประวัติศาสตร์จักรวรรดิญี่ปุ่น}}
[[ไฟล์:K2870702-12.jpg|thumb|185px|left|สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2]]
 
แม้ว่าพระองค์จะเห็นว่าการทำสงครามเป็นสิ่งจำเป็นต่อญี่ปุ่น แต่พระองค์ก็ไม่ทรงเห็นด้วยกับกองทัพที่ดำเนินนโยบายการสงครามแบบบ้าระห่ำ เมื่อทรงทราบถึง[[การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์|แผนการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์]]ของ[[สหรัฐอเมริกา]] พระองค์ทรงกังวลมิน้อยว่าการกระทำนี้จะส่งผลร้ายต่อญี่ปุ่น อย่างไรก็ตามพระองค์ทรงพอพระทัยอยู่เสมอเมื่อทรงทราบว่ากองทัพญี่ปุ่นได้ชัยชนะในศึกสงครามที่อยู่ห่างไกล ต้นเดือนมีนาคม [[พ.ศ. 2485]] ทรงพอพระทัยไม่น้อยกับชัยชนะอันรวดเร็วของจักรวรรดิญี่ปุ่นที่มีเหนือ[[เกาะฮ่องกง]], [[กรุงมะนิลา]], [[สิงคโปร์]], [[ปัตตาเวีย]] (จาร์กาตา) และ[[ย่างกุ้ง]]
บรรทัด 100:
== ภายหลังสงคราม ==
=== สถานะของจักรพรรดิ ===
[[ไฟล์:Macarthur hirohito.jpg|180px|thumb|left|สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะและนายพล[[ดักลาส แมคอาเธอร์]]]]
 
ภายหลังญี่ปุ่นยอมแพ้ สหรัฐอเมริกาได้ส่งกำลังทหารส่วนหนึ่งเข้าควบคุมญี่ปุ่น มีการเรียกร้องจากชาติฝ่ายสัมพันธมิตรโดยเฉพาะจากยุโรป ให้นำตัวสมเด็จพระจักรพรรดิมาลงโทษ นายพล[[ดักลาส แมคอาเธอร์]] ได้แสดงความคัดค้านอย่างถึงที่สุดในเรื่องนี้ ด้วยมองว่า จักรวรรดิญี่ปุ่นได้ยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข แสนยานุภาพของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นยังคงมีอยู่ และหากจะลงโทษจักรพรรดิแล้ว อาจเกิดการลุกฮือจากกองทัพญี่ปุ่นก็เป็นได้ ซึ่งจะต้องส่งกำลังทหารเข้ามาประจำการในญี่ปุ่นอีกมหาศาล อีกทั้งการบัญชาการทัพญี่ปุ่นในการบุกดินแดนต่าง ๆ เป็นการบัญชาการจากผู้นำรัฐบาลและกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นเป็นหลัก ท้ายที่สุดจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ รอดพ้นจากข้อหาอาชญากรสงคราม
บรรทัด 112:
=== พระราชกรณียกิจ ===
[[ไฟล์:Hirohito.jpg|thumb|234px|สมเด็จพระจักรพรรดินี, [[เบ็ตตี ฟอร์ด|สุภาพสตรีฟอร์ด]], สมเด็จพระจักรพรรดิ และประธานาธิบดี[[เจอรัลด์ ฟอร์ด]] ที่ทำเนียบขาว พ.ศ. 2518]]
สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ ทรงดำเนินพระราชกรณียกิจทั่วไปที่เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ การขจัดทุกข์บำรุงสุขและให้กำลังใจแก่ประชาชน การปรากฏพระองค์ในพิธีการหรือเหตุการณ์สำคัญ นอกจากนี้ ยังทรงมีบทบาทสำคัญในด้านการสร้างภาพลักษณ์ทางการทูตของญี่ปุ่น เสด็จพระราชดำเนินเยือนต่างประเทศอยู่บ่อยครั้งเพื่อพบปะกับผู้นำต่างประเทศ อาทิ [[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] (พ.ศ. 2514) , ประธานาธิบดี[[เจอรัลด์ ฟอร์ด]] (พ.ศ. 2518) เป็นต้น
 
สมเด็จพระจักรพรรดิทรงให้ความสนใจและทรงรอบรู้เกี่ยวกับ[[ชีววิทยาทางทะเล]] ซึ่งภายใน[[พระราชวังโตเกียว]]มีห้องปฏิบัติการที่สมเด็จพระจักรพรรดิได้เผยแพร่เอกสารการค้นคว้าและวิจัยหลายด้าน ในนามแฝงของพระองค์ว่า "โช" ผลงานของพระองค์ก็อาทิ คำอธิบายเกี่ยวกับ[[ไฮโดรซัว]]หลากหลายสายพันธุ์<ref>{{cite web|url=http://www.marinespecies.org/hydrozoa/aphia.php?p=search |title=World Hydrozoa Database |publisher=Marinespecies.org |date= |accessdate=2010-10-03}}</ref>