ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แรงลอยตัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Buoyancy.svg|thumb|right|250px|แรงที่กระทำในการลอยตัว]]
 
ในทาง[[ฟิสิกส์]] '''แรงลอยตัว''' คือแรงกระทำในทิศทางพุ่งขึ้นที่ของเหลวต่อต้านต่อ[[น้ำหนัก]]ของวัตถุ ถ้ามองของไหลในแนวดิ่ง [[ความดัน]]จะเพิ่มขึ้นตามระดับความลึกอันเป็นผลจากน้ำหนักของของไหลที่อยู่ชั้นบนๆ ดังนั้นในแท่งของไหลหนึ่งๆ หรือวัตถุที่จมอยู่ในของเหลวนั้นในระดับลึก จะพบกับความดันที่มากกว่าเมื่ออยู่ที่ระดับตื้น ความแตกต่างของความดันนี้เป็นผลจากแรงสุทธิที่มีแนวโน้มผลักดันวัตถุให้ขึ้นไปข้างบน ขนาดของแรงนั้นเท่ากับความแตกต่างของความดันระหว่างจุดบนกับจุดล่างสุดของแท่งของเหลวนั้น ซึ่งเท่ากับน้ำหนักของของเหลวที่อยู่ในแท่งของเหลวนั้นด้วย ด้วยเหตุนี้ วัตถุที่มี[[ความหนาแน่น]]มากกว่าของเหลวจะมีแนวโน้มที่จะจมลงไป ถ้าวัตถุมีความหนาแน่นน้อยกว่าของเหลว หรือมีรูปร่างที่เหมาะสม (เช่นเรือ) แรงนั้นจะสามารถทำให้วัตถุลอยตัวอยู่ได้แต่มองแล้วมันก็แค่ไม่ต้องมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวไปเลยค่ะ
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==