ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎แหล่งข้อมูลอื่น: แก้ไขเพิ่มเติมลิงก์แหล่งข้อมูล
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
แก้ไขคำผิดและเพิ่มเติมข้อมูล
บรรทัด 4:
| nativename = {{lang|zh-tw|福建話}} / {{lang|zh-cn|福建语}} ''hok-kiàn-uē''
| familycolor = Sino-Tibetan
| states = [[จีน]], [[ไต้หวัน]] [[มาเลเซีย]], [[อินโดนีเซีย]], [[สิงคโปร์]], [[ฟิลิปปินส์]], [[ไทย]](บริเวณจังหวัดภูเก็ตและใกล้เคียง) และบริเวณอื่นๆอื่น ๆ
| region =
| speakers =
บรรทัด 12:
| fam4 = [[ภาษาหมิ่นใต้]]
| nation =
| dia1= [[:zh:泉州話|สำเนียงจงาจิวจางจิว]]
| dia2= [[:zh:漳州話|สำเนียงเจียงจิว]]
| dia3= [[:zh:廈門話|สำเนียงเอ้หมึง]]
บรรทัด 18:
| agency = กระทรวงศึกษาธิการและองค์กรเอกชน (ใน[[ไต้หวัน]])
| iso3 = nan
| isoexception = dialect
| map = Banlamgu.svg
| mapcaption = การกระจายตัวของภาษาหมิ่นใต้ สีเขียวเข้ม: ฮกเกี้ยน
| map2 = Hokkien Map.svg
| mapcaption2 = แดง: ทิศเหนือ (สำเนียงเจียงจิว, สำเนียงไต้หวัน)<br/>น้ำเงิน: ทิศใต้ (สำเนียงจางจิว, สำเนียงไต้หวัน)<br/>ชมพู: ทิศตะวันออก (สำเนียงเอ้หมึง, สำเนียงผสมไต้หวัน)<br/>เหลือง: ทิศตะวันตก (สำเนียงเล้งเยียน)
| script=อักษรจีน ([[ภาษาเขียนฮกเกี้ยน]])<br>อักษรละติน ([[:en:Pe̍h-ōe-jī|Pe̍h-ōe-jī]])
| notice=IPA
}}
'''ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน''' หรือ '''ภาษาฮกเกี้ยน''' ([[ภาษาหมิ่นใต้]]: 福建話, [[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีน]]: 泉漳話) เป็นภาษาหมิ่นใต้ที่มีจำนวนผู้ใช้มากที่สุด มักจะใช้เรียกแทนภาษาหมิ่นใต้ ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐานมีแหล่งต้นกำเนิดมาจากจังหวัดจงาจิวจางจิว เจียงจิวและจังหวัดเอ้หมึงในมณทฑฝูเจี้ยนหมึงในมณฑลฝูเจี้ยน นอกไปจากนี้ยังมีจำนวนผู้ใช้จำนวนมากในประเทศไต้หวัน สิงคโปร์ และประเทศฟิลิปปินส์บางส่วน
 
ภาษาหมิ่นใต้ถิ่นนี้ ประเทศนั้นไต้หวันเรียกว่า '''ไต้อี๊''' ([[อักษรจีน]]:{{lang-zh|臺語}}) ในเอเชียตะวันออกเฉียงไต้เรียกว่า '''ฮกเกี้ยนเอ''' ([[白話字|ป๋ายเอ๋ยี๋]]: Hok-kiàn-ōe) ส่วนจีนกลางเรียกว่า '''เฉวียนจางฮว่า''' (泉漳話) หรือภาษาเฉวียนเจียงจิว-จางจิว) เพื่อป้องกันการสับสนกับภาษาฟุกจิว ([[อักษรจีน]]:{{lang-zh|福州話}})
 
== ที่มาของชื่อ ==
เกี่ยวกับการเรียกชื่อภาษาหมิ่นใต้นั้น ที่จริงแล้วยังมีคำอื่นที่ใช้เรียกตามความคลุมเครืออีกได้แก่ "ฮกเกี้ยน" (福建話), "หมิ่นใต้" (閩南話), "ไต้หวัน" (臺灣話),"ฮกเล๊า" (福佬話), "เอ๋อเล๊า" (鶴佬話), "โหล๊ก" (河洛話) โดยมีที่มาดังนี้
* "โหล๊ก" ในงานวิจัยจองอู๋ฮวาย〈河洛語閩南語中之唐宋故事〉<ref name="Wu 2008">{{cite web| title= 臺灣閩南語之淵源與正名| author= 吳坤明| work= 臺灣學研究第五期| pages= 54-73| date= June 2008| publisher= 臺灣學研究中心| url= http://www.ntl.edu.tw/public/Attachment/910289373634.pdf| format= PDF}}</ref><ref>{{Cite book| url= http://www.books.com.tw/exep/prod/booksfile.php?item=0010562497| title= 臺灣話俗諺語典(上,下冊)| author= 蕭藤村| place= Taibei, ROC| date= 2012-10-25| isbn= 9789571168333| publisher= 五南圖書出版股份有限公司| oclc= 826833072}}</ref>ได้อธิบายไว้ว่า
เส้น 31 ⟶ 38:
** 臺灣話, 臺語: เป็นคำที่ชาวญี่ปุ่นใช้ในช่วงที่ชาวญี่ปุ่นปกครองไต้หวัน อย่างไรแต่ คำว่า 台灣語 ไม่ได้หมายถึงภาษาฮกเกี้ยนในภาษาญี่ปุ่น
 
== การใช้ในท้องถิ่น ==
=== มณฑลฝูเจี้ยน ===
ปัจจุบันภาษาฮกเกี้ยนในประเทศจีนมีการแบ่งแยกเป็นท้องถิ่นอยู่อีกหลายที่ หลัก ๆ แบ่งได้เป็นสี่ที่<ref>{{Cite web| url= http://www.fjsq.gov.cn/ReadNews.asp?NewsID=4607&BigClassName=福建概览&SmallClassName=福建概览&SpecialID=0&Style=2| title= 福建概览 方言| date= 2015-10-23}}</ref>ได้แก่
* ฮกเกี้ยนภาคตะวันออก (สำเนียงเอ้หมึง) โดยแบ่งออกเป็นสำเนียงย่อยในเกาะและนอกเกาะเอ้หมึง
* ฮกเกี้ยนถิ่นจงาจิวจางจิว สามารถแบ่งย่อยเป็นสำเนียงย่อยดังนี้: สำเนียงถงอาน (同安话), สำเนียงกิมหมึง (金门话), สำเนียงหนานอาน (南安话), สำเนียงอานซี (安溪话), สำเนียงจิ๋นเกียง (晋江话), สำเนียงสื๋อสือ (石狮话), สำเนียงหุยอัน (惠安话), สำเนียงเถาปัก (头北话), สำเนียงหุยหนาน (惠南话)
* ฮกเกี้ยนถิ่นเจียงจิว สามารถแยกเป็นสำเนียงย่อยได้ดังนี้: สำเนียงเล๊งซีเล้งซี (龙溪话), สำเนียงเจียงปู่ (漳浦话), สำเนียงหนานชิง (南靖话)
* ฮกเกี้ยนตะวันตก (สำเนียงเล๊งเยียนเล้งเยียน) สามารถแบ่งย่อยเป็นสำเนียงย่อยคือสำเนียงซินหลอ (新罗话) กับสำเนียงเจียงเป๋ง (漳平话)
 
=== ไต้หวัน ===
{{บทความหลัก|ภาษาจีนฮกเกี้ยนสำเนียงไต้หวัน}}
=== เอเชียตะวันออกเฉียงไต้ ===
ภาษาฮกเกี้ยนใน[[:zh:東南亞福建話|เอเชียตะวันออกเฉียงไต้]]สามารถแบ่งได้ตามประเทศต่าง ๆ ส่วนใหญ่แล้วมีความใกล้เคียงกับภาษาไต้หวันโดยแบ่งออกเป็นตามประเทศต่าง ๆ ได้แก่
* ประเทศสิงคโปร์ มีความใกล้เคียงกับสำเนียงในจังหวัดจงาจิวจางจิว
* ประเทศมาเลเซียตอนบน เป็นภาษาถิ่นที่ใกล้เคียงกับจังหวัดจงาจิวจางจิว
* ประเทศมาเลเซียตอนใต้ เป็นภาษาถิ่นที่ใกล้เคียงกับจังหวัดเจียงจิว
 
== การออกเสียง ==
{{col-begin}}
{{col-break|width=50%}}
=== สระ ===
<div style="margin:5px; background:none;">
{| cellspacing="0px" cellpadding="0" style="text-align:center; background:none;"
เส้น 129 ⟶ 136:
{{col-break}}
 
=== วรรณยุกต์ ===
:{| Class="wikitable" Style="text-align:center"
|+ลักษณะเสียงวรรณยุกต์จากสำเนียงเฉวียนจาง<ref>{{Cite book
เส้น 145 ⟶ 152:
}}</ref>
! วรรณยุกต์
! colspan=2|จงาจิวจางจิว
! colspan=2|เจียงจิว
! colspan=2|เอ้หมึง
เส้น 167 ⟶ 174:
{{col-end}}
 
== เสียงในแผ่นดินต่าง ๆ ==
ภาษาฮกเกี้ยนในเอ้หมึงกับไต้หวันคือถิ่นจงาจางจิวกับเจียงจิวผสมกัน แต่ว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปตามวิวัฒนาการ อย่างไรแต่ก็ตาม แม้ว่าการออกเสียงจะมีการเปลี่ยนไปบ้าง แต่การใช้อักษรไม่มีการเปลี่ยนและมีการใช้สำนวนที่เหมือนกัน นอกนั้นในไต้หวันในช่วงที่ญี่ปุ่นเข้าครอบครองได้มีการลอกเลียนแบบรับอิทธิพลจากภาษาญี่ปุ่นพอสมควร ส่วนที่เหลือจะมีการรับอิทธิพลจากภาษามลายู ภาษาอังกฤษ ภาษาแต้จิ๋ว ภาษากวางตุ้งเป็นต้น
 
ภาษาฮกเกี้ยนทุกถิ่นสามารถสื่อสารอย่างเข้าใจกันได้
 
== อักษรศาสตร์และไวยากรณ์ ==
ภาษาฮกเกี้ยนจัดเป็นภาษาแยกหน่วยคำ ([[:en:Analytic language|Analytic language]]) เหมือนภาษาไทย ดังนั้นคำแต่ละคำจะมีความหมายแยกออกชัดเจนและให้ความหมายตัวต่อตัว<ref>{{cite journal|last=Ratte|first=Alexander T.|date=May 2009|title=A DIALECTAL AND PHONOLOGICAL ANALYSIS OF PENGHU TAIWANESE|publisher=Williams College|location=Williamstown, Massachusetts|page=4|url=http://sanders.phonologist.org/Papers/ratte-thesis.pdf}}</ref> ปรกติแล้วจะเป็น ประธาน-กริยา-กรรม เหมือนภาษาไทย ทว่า ภาษาฮกเกี้ยนจะเป็นภาษาเน้นหัวข้อ ([[:en:Topic-prominent language|Topic-prominent language]]) ดังนั้นไวยากรณ์จึงไม่มีมาตรฐาน ภาษาฮกเกี้ยนไม่มี[[:en:Grammatical tense|เทนซ์]] ไม่แบ่งเพศ ไม่มีเอกพจน์พหูพจน์ แต่จะเป็นการเติมคำแยกเหมือนภาษาไทย
=== บุรุษสรรพนาม ===
บุรุษสรรพนามในภาษาฮกเกี้ยนมีดังนี้
{| class="wikitable" style="text-align:center"
เส้น 212 ⟶ 219:
* {{Cite web|url= https://baike.baidu.com/item/%E9%97%BD%E5%8D%97%E8%AF%AD|title= 闽南语}} จากสารานุกรม[[ไป่ตู้ไป่เค่อ]] (ในภาษาจีน)
 
{{ภาษาจีน}}
{{Authority control|NDL=001117818}}
 
{{ภาษาจีน}}
 
{{เรียงลำดับ|หมิ่นใต้}}