ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุการณ์ 14 ตุลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
อญิญา
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''เหตุการณ์ 14 ตุลา''' หรือ '''วันมหาวิปโยค''' เป็นเหตุการณ์การเรียกร้องประชาธิปไตยของประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนู[[รัฐธรรมนูญญาณ|ญ]]จากรัฐบาลเผด็จการจอมพล[[ถนอม กิตติขจร]] นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก
{{Infobox civil conflict
| title = เหตุการณ์ 14 ตุลา
| image = เหตุการณ์-14-ตุลาคม.png
| caption = '''เรียงจากซ้ายไปขวา''' : การชุมนุมที่[[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]],[[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]]มีพระราชดำรัสทาง[[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]],[[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]มีพระราชดำรัสทาง[[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]],[[การจลาจล]]ในเหตุการณ์ 14 ตุลา,[[อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา]]
| date = {{วันเกิด-อายุ|2516|10|14|ปีที่แล้ว}}
| place = [[กรุงเทพมหานคร]]และปริมณฑล
| coordinates =
| causes = {{bulleted list|
| การปกครองด้วยรัฐบาลทหารยาวนานนับตั้งแต่จอมพล[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]]
| [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514|รัฐประหารตัวเอง]]ของจอมพล[[ถนอม กิตติขจร]]
| เฮลิคอปเตอร์ของทหารตก ซึ่งภายในพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานแห่งชาติเป็นจำนวนมาก
| การทุจริตในรัฐบาล
}}
| goals = {{bulleted list|
| การเรียกร้อง[[รัฐธรรมนูญ]]ที่เป็นประชาธิปไตย
| การเรียกร้องให้จอมพลถนอม กิตติขจรลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
}}
| methods = {{bulleted list|
| การเดินขบวนและชุมนุมประท้วง
| การตีพิมพ์หนังสือ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่"
}}
| result = {{bulleted list|
| จอมพลถนอม กิตติขจรลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
| บุคคลที่ประชาชนเรียก "[[3 ทรราช]]" เดินทางออกนอกประเทศ
| การก่อสร้าง[[อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา]]
| การร่างรัฐธรรมนูญโดย "สภาสนามม้า"
| เกิด[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2518|การเลือกตั้งในต้น พ.ศ. 2518]]
}}
| side1 = {{bulleted list|
| [[ไฟล์:Flag of Thailand.svg|25px]] ประชาชน
| [[ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย]]
}}
| side2 = {{bulleted list|
| [[ไฟล์:Seal Prime Minister of Thailand.png|25px]] [[ถนอม กิตติขจร|รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร]]
}}
| leadfigures3 =
| howmany3 =
| casualties1 =
| casualties2 =
| casualties3 =
| fatalities = 77 คน
| injuries = 857 คน
| arrests =
| detentions =
| charged =
| fined =
| casualties_label =
| notes =
|latitude=|longitude=}}
'''เหตุการณ์ 14 ตุลา''' หรือ '''วันมหาวิปโยค''' เป็นเหตุการณ์การเรียกร้องประชาธิปไตยของประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้อง[[รัฐธรรมนูญ]]จากรัฐบาลเผด็จการจอมพล[[ถนอม กิตติขจร]] นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก
 
เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพล[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึง[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514|การรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514]] ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น
เส้น 93 ⟶ 44:
หลังจากเหตุการณ์ครั้งนี้ มีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยประชาชนต่าง ๆ จากหลายภาคส่วน โดยไม่มีนักการเมืองร่วมอยู่ด้วยเลย และใช้[[ราชตฤณมัยสมาคม|สนามม้านางเลิ้ง]]เป็นที่ร่าง เรียกกันว่า "สภาสนามม้า" นำไปสู่[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2518|การเลือกตั้งในต้น พ.ศ. 2518]] ช่วงนั้นเรียกกันว่าเป็นยุค "ฟ้าสีทองผ่องอำไพ" แต่เหตุการณ์ต่าง ๆ ในประเทศยังไม่สงบ มีการเรียกร้องและเดินขบวนของกลุ่มชนชั้นต่าง ๆ ในสังคม ประกอบกับสถานการณ์ความมั่นคงในประเทศรอบด้านจากการรุกคืบของ[[ลัทธิคอมมิวนิสต์]]และผลกระทบจาก[[สงครามเวียดนาม]] แม้รัฐบาลชุดใหม่ที่มาจากการเลือกตั้งก็ไม่มีเสถียรภาพเพียงพอที่จะแก้ไขสถานการณ์ได้ นำไปสู่เหตุนองเลือดอีกครั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อ [[พ.ศ. 2519]] คือ '''[[เหตุการณ์ 6 ตุลา]]'''
 
นอกจากนี้ เหตุการณ์ 14 ตุลา ยังนับเป็น[[การก่อการกำเริบโดยประชาชน|การลุกฮือของประชาชน]]ครั้งแรกที่ประสบความสำเร็จใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 20|ยุคศตวรรษที่ 20]] และยังเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ [[เกาหลีใต้]]ใน[[เหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู]] เป็นต้น<ref name= "14 ตุลา">หนังสือ มาร์ค เขาชื่อ... อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ. พ.ศ. 2548, ISBN 978-974-93358-1-9 </ref>[[ไฟล์:1_ 11.jpg|thumb|190px|[[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]]มีพระราชดำรัสทาง[[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]]เมื่อเวลา 23:30 นาฬิกาของวันอาทิตย์ที่ 14 ตุลาคม]]
 
ในเดือน[[ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2546]] นาย[[เทพมนตรี ลิมปพยอม]] นักวิชาการอิสระด้านประวัติศาสตร์ ได้เปิดตัวหนังสือมา 2 เล่ม ชื่อ ''"ลอกคราบ 14 ตุลา ดักแด้ประวัติศาสตร์การเมืองไทย"'' และ ''"พันเอกณรงค์ กิตติขจร 30 ปี 14 ตุลา ข้อกล่าวหาที่ไม่สิ้นสุด"'' โดยมีเนื้อหาอ้างอิงจากเอกสารราชการลับในเหตุการณ์ 14 ตุลา ซึ่งมีเนื้อหาว่าทั้ง พ.อ.ณรงค์ และจอมพลถนอม มิได้เป็นผู้สั่งการในเหตุการณ์ 14 ตุลา<ref>[http://www.manager.co.th/politics/ViewNews.aspx?NewsID=4658121163248 ''ณรงค์''โยน''พล.อ.กฤษณ์'' ต้นเหตุความรุนแรง14ต.ค.]</ref> และพันเอก[[ณรงค์ กิตติขจร]] ยังได้กล่าวอีกว่า พล.อ.[[กฤษณ์ สีวะรา]] เป็นผู้อยู่เบื้องหลังการสังหารหมู่นิสิต นักศึกษา และประชาชนในการชุมนุม แต่ก็เป็นการชี้แจงหลังเกิดเหตุมาเกือบ 30 ปี และเป็นการชี้แจงเพียงฝ่ายเดียวโดยที่ฝ่ายครอบครัวของทาง พล.อ.กฤษณ์มิได้มีโอกาสชี้แจงกลับ คำกล่าวของพ.อ.ณรงค์ ขัดแย้งกับ นาย[[โอสถ โกศิน]] อดีตรัฐมนตรีที่ใกล้ชิดกับ พล.อ.กฤษณ์ ซึ่งระบุว่า พล.อ.กฤษณ์ เป็นบุคคลสำคัญที่ไม่ยอมให้มีการปฏิบัติการขั้นรุนแรงแก่นักศึกษา