ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิเต๋า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
แก้คำผิดจาก เต็ เป็น เต๋า
บรรทัด 3:
'''ลัทธิเต๋า''' หรือ '''ศาสนาเต๋า''' ({{lang-zh|道教}} ''Dàojiao''; {{lang-en|Taoism}}) เป็น[[ปรัชญา]]และ[[ศาสนา]]ที่มีต้นกำเนิดใน[[ประเทศจีน]] เน้นการใช้ชีวิตกลมกลืนกับ[[เต๋า]] ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในสำนักปรัชญาจีนส่วนใหญ่ แต่ในศาสนาเต๋า เต๋าหมายถึงต้นกำเนิด แบบแผน และสารัตถะของสรรพสิ่ง<ref name="Pollard; Rosenberg; Tignor 2011 164">{{Cite book | title = Worlds Together Worlds Apart | last = Pollard; Rosenberg; Tignor | first = Elizabeth; Clifford; Robert | publisher = Norton | year = 2011 | isbn = 9780393918472 | location = New York, New York | page = 164}}</ref><ref>Creel 1970, p.48,62-63. What Is Taoism? https://books.google.com/books?id=5p6EBnx4_W0C&pg=PA48
* S.Y. Hsieh, 1995. p.92 Chinese Thought: An Introduction. https://books.google.com/books?id=-E5LZeR7QKwC&pg=PA92
* Julia Ching, R. W. L. Guisso. 1991. p.75,119. Sages and Filial Sons. https://books.google.com/books?id=ynfrlFZcUG8C&pg=PA75</ref> ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่าง[[ลัทธิขงจื๊อ]]<ref name="Pollard; Rosenberg; Tignor 2011 164"/> แม้ลัทธิเต็ในเต๋าในแต่ละนิกายจะมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ "[[อู๋เว่ย]]" หรือ ความไร้เจตนา ความเป็นธรรมชาติ และความเรียบง่าย กับ[[สมบัติสามประการ]] ได้แก่ 慈 ความเมตตา 儉 ความมัธยัสถ์ และ 不敢為天下先 ความอ่อนน้อมถ่อมตน
 
ศาสนาเต๋ากำเนิดขึ้นราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช<ref>Robinet 1997, p. xix</ref> โดยรับแนวคิดทางจักรวาลวิทยาจากสำนักยินหยาง และแนวปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับวัฏจักรของธรรมชาติตามคัมภีร์[[อี้จิง]] ต่อมาใช้[[เต้าเต๋อจิง]]ของ[[เล่าจื๊อ]]และคัมภีร์[[จวงจื๊อ]]เป็นคัมภีร์หลักประจำศาสนา ถึงสมัย[[ราชวงศ์ฮั่น]] ลัทธิเต๋าใน[[จ๊กก๊ก]]เริ่มมีองค์กรและพิธีกรรมเป็นระบบ<ref>''Nadeau (2012)'', p. 42</ref> จนถึงปัจจุบันศาสนาเต๋าแบ่งเป็น 2 นิกายหลักคือ [[สำนักฉวนเจิน]]และ[[สำนักเจิ้งอี]] หลังสมัยของเล่าจื๊อและจวงจื๊อ มีการจัดสารบบวรรณกรรมศาสนาเต๋าต่าง ๆ จนได้เป็นคัมภีร์[[เต้าจั้ง]]และพิมพ์เผยแพร่ตามรับสั่งของ[[จักรพรรดิจีน]] และเป็นศาสนาประจำชาติจีนมาตลอดจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงไม่ได้อยู่ในอุปถัมภ์ของราชสำนัก