ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตลาดนัดจตุจักร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 10:
ปี [[พ.ศ. 2491]] จอมพล [[ป. พิบูลสงคราม]] อดีต[[รายนามนายกรัฐมนตรีของไทย|นายกรัฐมนตรี]] มีนโยบายให้จัดตั้งตลาดนัดขึ้นในทุกจังหวัด สำหรับ[[กรุงเทพมหานคร]]นั้นได้เลือก[[สนามหลวง]]เป็นสถานที่จัดตลาดนัด แต่เพียงไม่ถึงปีรัฐบาลก็ย้ายตลาดนัด ไปอยู่ใน[[พระราชอุทยานสราญรมย์]]แล้วจึงย้ายออกไปตั้งอยู่บริเวณ[[สนามไชย]] และย้ายตลาดนัดกลับไปอยู่ที่สนามหลวงในปี [[พ.ศ. 2501]]
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2521]] พลเอก[[เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์]] อดีตนายกรัฐมนตรี ได้มีนโยบายใช้สนามหลวงเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]จึงได้มอบที่ดินย่านพหลโยธิน โดยการดำเนินการโดยนาย[[เชาวน์วัศ สุดลาภา]] อดีต[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] จึงจัดที่ดิน[[สวนจตุจักร]]ด้านทิศใต้ให้แก่ [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]เพื่อใช้ในกิจการสาธารณประโยชน์ และกรุงเทพมหานครได้ปรับพื้นที่เพื่อให้ผู้ค้าหาบเร่แผงลอยและขณะเดียวกันก็พยายามย้ายผู้ค้าจากสนามหลวงมาด้วย จนกระทั่งดำเนินการสำเร็จ เมื่อปี [[พ.ศ. 2525]] โดยใช้ชื่อว่าตลาดนัดย่านพหลโยธิน ต่อมาเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “ตลาดนัดจตุจักร” ให้สอดคล้องกับ[[สวนจตุจักร|สวนสาธารณะจตุจักร]]ในบริเวณใกล้เคียง ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2530]] จนถึงปัจจุบัน<ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
|ชื่อหนังสือ=กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554
บรรทัด 23:
</ref>
 
ในปัจจุบัน ตลาดนัดสวนจตุจักรได้เปลี่ยนอำนาจการดูแลจากกรุงเทพมหานคร สู่ไปยัง[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ [[2 มกราคม]] [[พ.ศ. 2555]] ซึ่งก็มีผู้ค้าขายแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ทั้งเห็นด้วย และไม่เห็นด้วย<ref>[http://www.matichon.co.th/daily/view_news.php?newsid=01edi01070155&sectionid=0102&selday=2012-01-07 ขุมทรัพย์จตุจักร จาก[[มติชน]]]</ref> ต่อมาแต่ใน วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2561 การรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) ดำเนินการก็ได้คืนพื้นที่ตลาดนัดจตุจักร เพื่อให้กลับไปอยู่ในอำนาจการดูแลของยังกรุงเทพมหานคร (กทม.) เข้ามาบริหารจัดการดูแลตลาดนัดจตุจักร ตามเดิม.
 
== การค้าสัตว์ป่าผิดกฎหมาย ==