ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จรัญ ภักดีธนากุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Suwarode (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
 
== ประวัติ ==
นายจรัญ ภักดีธนากุล เกิดเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 เป็นชาว[[กรุงเทพมหานคร]]โดยกำเนิด สำเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จาก[[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เป็น[[เนติบัณฑิตไทย]] (สอบได้อันดับที่ 1 ของสมัยที่ 25) สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ได้รับปริญญานิติศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยม สาขาวิชากฎหมาย (B.A. in Law Cantab) จาก[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] [[ประเทศอังกฤษ]] และเป็น[[เนติบัณฑิตอังกฤษ]]จากสำนักเกรส์อิน (Gray's Inn) กรุง[[ลอนดอน|กรุงลอนดอน]] ประเทศอังกฤษ
 
นายจรัญเริ่มรับราชการเป็นผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ รองเลขาธิการส่งเสริมงานตุลาการ เลขาธิการส่งเสริมงานตุลาการ (ตั้งแต่วันที่ [[28 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2535|2535]]) ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ (ตั้งแต่วันที่ [[2 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2540|2540]]) ต่อมาได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์พิเศษ ในสาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2544<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=118|issue=77 ง|pages=1|title=ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งศาสตราจารย์พิเศษ|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/D/077/1.PDF|date= 25 กันยายน 2544|accessdate = 25 ตุลาคม 2562 |language=ไทย}}</ref> เป็นกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมผู้ทรงคุณวุฒิ และเลขาธิการประธานศาลฎีกา (ตั้งแต่วันที่ [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2545|2545]]) ตามลำดับ โดยระหว่างดำรงตำแหน่งเลขาธิการประธานศาลฎีกา นายจรัญมีบทบาทในการแถลงข่าวแทนฝ่ายตุลาการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหา[[วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2549|วิกฤติการณ์การเมือง]] ภายหลัง[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในไทย เมษายน พ.ศ. 2549|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อเดือนเมษายน 2549]] และการมีพระราชดำรัสของ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]แก่ตุลาการศาลปกครองสูงสุดและผู้พิพากษาศาลฎีกาเกี่ยวกับให้เข้ามาแก้ไขวิกฤติการณ์ดังกล่าว
นายจรัญ ภักดีธนากุล เกิดเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 เป็นชาว[[กรุงเทพมหานคร]]โดยกำเนิด สำเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จาก[[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เป็น[[เนติบัณฑิตไทย]] (สอบได้อันดับที่ 1 ของสมัยที่ 25) สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ได้รับปริญญานิติศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยม สาขาวิชากฎหมาย (B.A. in Law Cantab) จาก[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] [[ประเทศอังกฤษ]]และเป็น[[เนติบัณฑิตอังกฤษ]]จากสำนักเกรส์อิน (Gray's Inn) [[ลอนดอน|กรุงลอนดอน]] ประเทศอังกฤษ
 
ต่อมา นายจรัญได้รับเลือกเป็นผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอุทธรณ์ โดยวาระการดำรงตำแหน่งเริ่มตั้งแต่วันที่ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549|2549]] แต่ก่อนจะเริ่มดำรงตำแหน่ง ก็ได้ขอโอนย้ายจากราชการตุลาการไปยังราชการพลเรือน โดยไปเป็นปลัดกระทรวงยุติธรรมตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ปีนั้น นอกจากนี้ ในช่วงปีดังกล่าวซึ่ง[[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]]ได้[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|ยึดอำนาจการปกครอง]]จากรัฐบาลของพันตำรวจโท[[ทักษิณ ชินวัตร]] และจัดตั้ง[[สภาร่างรัฐธรรมนูญ]]เพื่อร่าง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550|รัฐธรรมนูญถาวรฉบับใหม่]] นายจรัญยังได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ กับทั้งยังอยู่ในฝ่ายสนับสนุนรับร่างด้วย
นายจรัญเริ่มรับราชการเป็นผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ รองเลขาธิการส่งเสริมงานตุลาการ เลขาธิการส่งเสริมงานตุลาการ (ตั้งแต่วันที่ [[28 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2535|2535]]) ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ (ตั้งแต่วันที่ [[2 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2540|2540]]) กรรมการตุลาการศาลยุติธรรมผู้ทรงคุณวุฒิ และเลขาธิการประธานศาลฎีกา (ตั้งแต่วันที่ [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2545|2545]]) ตามลำดับ โดยระหว่างดำรงตำแหน่งเลขาธิการประธานศาลฎีกา นายจรัญมีบทบาทในการแถลงข่าวแทนฝ่ายตุลาการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหา[[วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2549|วิกฤติการณ์การเมือง]] ภายหลัง[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในไทย เมษายน พ.ศ. 2549|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อเดือนเมษายน 2549]] และการมีพระราชดำรัสของ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]แก่ตุลาการศาลปกครองสูงสุดและผู้พิพากษาศาลฎีกาเกี่ยวกับให้เข้ามาแก้ไขวิกฤติการณ์ดังกล่าว
 
ต่อมา เมื่อวันที่ [[16 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2551|2551]] นายจรัญได้รับเลือกจากวุฒิสภาให้เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ โดยเป็นผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขานิติศาสตร์อย่างแท้จริงตามมาตรา 206 ของ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] และ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็น[[ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ]]ตั้งแต่วันที่ [[28 พฤษภาคม]] ปีนั้นเอง
ต่อมา นายจรัญได้รับเลือกเป็นผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอุทธรณ์ โดยวาระการดำรงตำแหน่งเริ่มตั้งแต่วันที่ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549|2549]] แต่ก่อนจะเริ่มดำรงตำแหน่ง ก็ได้ขอโอนย้ายจากราชการตุลาการไปยังราชการพลเรือน โดยไปเป็นปลัดกระทรวงยุติธรรมตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ปีนั้น นอกจากนี้ ในช่วงปีดังกล่าวซึ่ง[[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]]ได้[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|ยึดอำนาจการปกครอง]]จากรัฐบาลของพันตำรวจโท[[ทักษิณ ชินวัตร]] และจัดตั้ง[[สภาร่างรัฐธรรมนูญ]]เพื่อร่าง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550|รัฐธรรมนูญถาวรฉบับใหม่]] นายจรัญยังได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ กับทั้งยังอยู่ในฝ่ายสนับสนุนรับร่างด้วย
 
ต่อมา เมื่อวันที่ [[16 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2551|2551]] นายจรัญได้รับเลือกจากวุฒิสภาให้เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ โดยเป็นผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขานิติศาสตร์อย่างแท้จริงตามมาตรา 206 ของ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] และ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็น[[ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ]]ตั้งแต่วันที่ [[28 พฤษภาคม]] ปีนั้นเอง
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ม.ป.ช.|2543}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา,[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2543/B/025V001/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์] เล่ม ๑๑๗ ตอน ๒๕ ข ๑ ธันวาคม ๒๕๔๓ หน้า ๘</ref>
บรรทัด 39:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* "จรัญ ภักดีธนากุล". (ม.ป.ป.). ''ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.'' [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: < http://www.concourt.or.th/tl5007.html >. (เข้าถึงเมื่อ: 25 พฤศจิกายน 2551).
* ''ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550.'' (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: < http://www.concourt.or.th/download/Microsoft%20PowerPoint%20-%20tulakan%209%20_A4.pdf >. (เข้าถึงเมื่อ: 25 พฤศจิกายน 2551).
* ''ประกาศแต่งตั้งประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.'' (2551, 28 พฤษภาคม). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: < http://www.concourt.or.th/download/280551.pdf >. (เข้าถึงเมื่อ: 25 พฤศจิกายน 2551).
* "ผลการเลือกประธานศาลรัฐธรรมนูญ". (2551, 22 พฤษภาคม). ''ข่าวสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.'' [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: < http://www.concourt.or.th/download/news%2022-51.pdf >. (เข้าถึงเมื่อ: 25 พฤศจิกายน 2551).
{{จบอ้างอิง}}
 
{{ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไทย}}
เส้น 48 ⟶ 51:
{{เกิดปี|2493}}{{alive}}
<!-- ผู้พิพากษา เป็นข้าราชการฝ่ายตุลาการ ไม่ใช่ข้าราชการพลเรือน -->
 
[[หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:ผู้พิพากษาไทย]]