ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากูย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wayuwiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ลบโยงลิงค์ยิบย่อย ซ้ำใกล้กัน
บรรทัด 14:
}}
 
'''ภาษากูย''' ({{lang-en|Kuy}}) หรือ '''ภาษากวย''' เป็น[[ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก]] [[กลุ่มภาษามอญ-เขมร]] มีผู้พูดทั้งหมด 366,675 คน พบในไทย 300,000 คน (พ.ศ. 2535)<ref>Gordon, Raymond G., Jr. (ed.) , 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.</ref> ใน[[จังหวัดบุรีรัมย์]] [[สุรินทร์]] [[ศรีสะเกษ]] [[อุบลราชธานี]] [[ร้อยเอ็ด]] [[มหาสารคาม]] [[นครราชสีมา]] ส่วนใหญ่พูด[[ภาษาลาว]] [[ภาษาไทยถิ่นอีสาน]] [[ภาษาไทย]]หรือ[[ภาษาเขมรเหนือ]]ได้ด้วย พบใน[[กัมพูชา]] 15,495 คน (พ.ศ. 2532) ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือใน[[จังหวัดพระวิหาร]] [[เสียมราฐ]] [[จังหวัดกำปงธม|กำปงธม]] [[จังหวัดสตึงแตรง|สตึงแตรง]] ส่วนใหญ่พูด[[ภาษาเขมร]]ได้ด้วย พบใน[[ลาว]] 51,180 คน (พ.ศ. 2543) ใน[[แขวงสุวรรณเขต]] ส่วนใหญ่อยู่ตามริม[[แม่น้ำโขง]]ใน[[ลาว]]ภาคใต้
 
ชื่ออื่นสำหรับภาษานี้คือ: ภาษากูย; Aouei; Cuoi; Khamen-Boran; Kui; Kuoy; Kuy Ak; Kuy Antra; Kuy Mlor; Old Khmer;
บรรทัด 21:
 
ภาษากูยเป็นภาษาที่ไม่มีวรรณยุกต์ ใช้ระบบน้ำเสียงแทน ในประเทศไทยมี 3 สำเนียงคือ
* กูยเญอ พบที่ [[อำเภอเมืองศรีสะเกษ]] และ [[อ.อำเภอราษีไศล]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]]
* กูยไม พบที่ [[อ.อำเภออุทุมพรพิสัย]] และ อ.อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ
* กูยมะไฮ พบที่ [[อำเภอเมืองจันทร์]] ส่วนใหญ่อาศัยในเขต ตำบล[[ตำบลเมืองจันทร์]] และ [[บ้านโนนธาตุ]] หรือ[[บ้านตำบลปราสาท]] [[อำเภอห้วยทับทัน]] จังหวัด[[ศรีสะเกษ]]
* กูยปรือใหญ่ พบที่ [[อ.อำเภอขุขันธ์]] เป็นกลุ่มชนชาติพันธ์ดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในแถบพื้นที่เหนือ[[พนมดงรัก]]มานานแล้ว โดยเฉพาะตำบลปรือใหญ่ [[อำเภอขุขันธ์]] จังหวัด[[ศรีสะเกษ]]
 
ภาษากูย หรือ ภาษากวย มีอยู่ที่จังหวัดสุรินทร์ มีภาษาที่ใช้สนทนามี 2 สำเนียงคือ
บรรทัด 31:
 
== ภาษากวยบังคับช้าง ==
ภาษากวย เป็นภาษาบังคับช้างที่ใช้บังคับมาจนถึงปัจจุบันหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ ภาษากวย ภาษาช้าง นั่นเอง เช่น
หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ ภาษากวย ภาษาช้าง นั่นเอง เช่น
( นั่ง = ตะโก
ลุก = ยูร์
เส้น 52 ⟶ 51:
ไหว้ = จะม๊า ร้องไห้ = เงียม )
 
นี้เป็นภาษาบังคับช้างในเบื้องต้นเท่านั้น และเป็นภาษาที่ช้างฟังเข้าใจ{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
*หมายเหตุ การพูดต้องพูดย้ำๆ หลายครั้ง
 
เส้น 181 ⟶ 180:
 
== เทียบสำเนียง กูย กับ กวย ==
{{โครงส่วน}}
ภาษาจะมี2 สำเนียงใหญ่ๆ คือ กูย กับ กวย ยกตัวอย่าง เช่น สระเอีย กับ สระอา จะสลับกัน
 
บรรทัด 217:
* พระสมุทร ถาวรธมฺโม/ทาทอง ผศ.ดร.ประวัติศาสตร์กวย. กทม. ที่ระลึกงานฌาปนกิจศพคุณยายขบวน ชาญเชี่ยว วัดแสงสว่างราฆฎร์บำรุง อ.บัวเชด จ.สุรินทร์. 2551.
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.kuay.org/ ศูนย์การเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมกวย]
* [https://www.facebook.com/กอนกวย-กวยตั้งแต่เกิด-472513039491437 เฟซบุ๊กอนุรักษ์วัฒนธรรมกูย]
 
{{ออสโตรเอเชียติก}}