ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
| close =
| owner = [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]
| operator = บริษัท รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกเชื่อมสามสนามบิน จำกัด<br>{{เทาเล็ก|(สัญญาสัมปทานโครงการ หมด พ.ศ. 2612)}}
| operator = กิจการร่วมค้า บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง จำกัด และพันธมิตร<br>{{เล็ก|(โดย บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง จำกัด<br>บริษัท ช. การช่าง จำกัด (มหาชน) บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) และ ไชน่า เรลเวยส์ คอนสตรัคชั่น คอร์ปอเรชัน)}}<br>[[ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ|บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน)]]<br>{{เทาเล็ก|(สัญญาสัมปทานโครงการ หมด พ.ศ. 2612)}}
| depot = ศูนย์ซ่อมบำรุงซอยศูนย์วิจัย สำนักบริหารโครงการรถไฟฟ้า การรถไฟแห่งประเทศไทย
| character =
บรรทัด 36:
}}
 
'''รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ''' ({{lang-en|Suvarnabhumi Airport Rail Link}}) หรือ '''แอร์พอร์ต เรล ลิงก์''' เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ เดิมอยู่ในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน ช่วงตลิ่งชัน - ฉะเชิงเทรา]] ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล|โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง]] ภายหลังรัฐบาลได้นำโครงการนี้มาเป็นโครงการเร่งด่วนและแยกการก่อสร้างต่างหากจากระบบรถไฟฟ้าชานเมือง ดำเนินการก่อสร้างโดย[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] (รฟท.) และได้เปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์เมื่อ พ.ศ. 2553 โดยบริษัท [[รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.]] จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม และเป็นบริษัทลูกของการรถไฟแห่งประเทศไทย ก่อนเปลี่ยนผู้ดำเนินการเป็น [[ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ|บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน)]] ภายใต้สัญญาว่าจ้างดำเนินงานจาก กิจการร่วมค้า บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โฮลดิ้งรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกเชื่อมสามสนามบิน จำกัด และพันธมิตร อันประกอบด้วย บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท ช. การช่าง จำกัด (มหาชน) บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) และ ไชน่า เรลเวยส์ คอนสตรัคชั่น คอร์ปอเรชัน จากประเทศจีน ใน พ.ศ. 2564 ซึ่งต่อมารัฐบาลได้มีการพิจารณารวมรถไฟฟ้าสายนี้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ[[รถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน]]
 
== ประวัติ ==